รายงาน​ภัยพิบัติ​ 24 ธันวาคม​ 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:43 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.0 (Mw) ลึก  563 กม.พิกัด 63.37°W 26.96° จังหวัดซานเตียโกเดลเอสเตโร ประเทศอาร์เจนตินา 
  • 22:00 ไต้ฝุ่น “ฟานทอง”  หรือ “Ursula” ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์  ความกดอากาศ 975 hPa ความเร็วลม 70 น็อต ศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N11°25′ E124°20′ บนเกาะเลย์เต เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกด้วยความเร็ว 25 กม./ชม.กำลังจะเคลื่อนตัวลงทะเลวิสายาส์ (Visayan sea) แนวโน้มอ่อนกำลังลง
  • 22:00 การประเมินเส้นทาง ไต้ฝุ่น “ฟานทอง” จากสำนักอุตุฯ 6 ประเทศ ทั้งหมดเห็นตรงกันว่าพายุหลังออกจากเขตประเทศฟิลิปปินส์จะลงสู่ทะเลจีนใต้แล้วสลายตัวโดยไม่ขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 16:00 ไต้ฝุ่น “ฟานทอง”  หรือ “Ursula” ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์  ความกดอากาศ 975 hPa ความเร็วลม 70 น็อต ศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N11°25′ E125°35′ ประชิดฝั่งเกาะซามาร์ ทาง PAGASA ระบุว่าขึ้นฝั่งแล้ว ณ เวลา 15:45 ตามเวลาไทย ที่เมือง ซัลเซโด (Salcedo) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองโบโรงกัน จังหวัดซีลางังซามาร์ คลิ๊กดูภาพเคลื่อนไหว
  • 13:30 ไต้ฝุ่น “ฟานทอง” หรือ “Ursula”  เคลื่อนเข้าใกล้ฟิลิปปินส์ ทางกรมอุตุฯ PAGASA เตือนประชาชนตามแนวชายฝั่งระวังคลื่นสตอร์มเสิร์จที่อาจสูงถึง 2 เมตรในบริเวณเกาะซามาร์
  • 13:00  พายุโซนร้อน “ฟานทอง” หรือพายุหมายเลข 29 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือ “Ursula” ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์ ทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่น ศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N10°55′ E126°25′ ความกดอากาศ 980 hPa ความเร็วลม 65 น็อต เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็ว 20 กม./ชม. 
  • 12:52 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 5.0 ลึก 10 กม.พิกัด 92.38°E 6.94°N หมู่เกาะนิโคบาร์ มหาสมุทรอินเดีย
  • 07:00  พายุโซนร้อน “ฟานทอง” หรือพายุหมายเลข 29 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือ “Ursula” ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์ ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง ศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N10°35′ E127°8′ ความกดอากาศ 985 hPa ความเร็วลม 60 น็อต เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็ว 20 กม./ชม. 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:30 กรุงเทพฯ​ 26°C เชียงราย 12°C เชียงใหม่​ 15°C ลำปาง​ 15°C เลย 16.6°C แม่ฮ่องสอน​ 18°C อุบล​ 22°C อุดร 21°C​ โคราช 22°C นครพนม​ 24°C หนองคาย​ 22°C ร้อยเอ็ด​ 21°C ภูเก็ต​ 23°C ปัตตานี​ 24°C แพร่ 19°C สุรินทร์​ 22°C พิษณุโลก​ 23°C หัวหิน 26°C พัทยา 23.2°C
  • 06:00 ยอดดอยอินทนนท์ อุณหภูมิต่ำสุด 9°C
  • ดาวเคราะห์น้อย 2019YB ขนาด 4 เมตร เคลื่อนใกล้โลกที่ระยะ 0.4 LD ความเร็วในการเคลื่อนที่12.8 กม./วินาที
  • ดาวเคราะห์น้อย 2019YS ขนาด 2 เมตร เคลื่อนใกล้โลกที่ระยะ 0.2 LD ความเร็วในการเคลื่อนที่ 7.2 กม./วินาที
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 8 พฤศจิกายน​ 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 13:00 โมเดลเส้นทางพายุไต้ฝุ่น “นากรี” จากสำนักอุตุ 6 ประเทศ มี 3 สำนักเห็นว่าพายุจะสลายตัวในเวียดนาม ส่วนทาง JTWC เห็นว่าพายุจะสลายตัวในลาว CMA ของจีนเห็นว่าจะสลายตัวในกัมพูชาส่วน HKO ฮ่องกงเห็นว่าพายุจะมาสลายตัวในเขตไทย
  • 13:00 พายุโซนร้อนกำลังแรง “นากรี” ในทะเลจีนใต้ ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้วในเวลานี้ ความเร็วลม 120 กม./ชม.  ความกดอากาศ 975 hPa เคลื่อนตัวช้ามากไปทางตะวันตก
  • 12:00 เกิดพายุ “นาคเล่นน้ำ” ในทะเลนอกชายฝั่งหาดกะรน เครดิตภาพ เสี่ยเบิ้ม กะรน
  • 07:00 พายุโซนร้อนกำลังแรง “นากรี” เริ่มเคลื่อ​นที่ไปทางทิศใต้จากนั้นเบี่ยงไปทางตะวันตก​อย่าง​ช้าๆ มีพิกัดล่าสุดเวลานี้อยู่ที่ N12°25′ E116°30′ ในทะเลจีนใต้ ความเร็วลม กศก. 60 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 04:00 พายุดีเปรสชัน Maha ในทะเลอาหรับสลายตัวแล้ว และทาง TSR ถือว่าพายุดีเปรสชัน Bulbul ในอ่าวเบงกอลยังมีสภาพเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ  ดังนั้นเวลานี้ทั่วโลกเหลือพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกคือพายุโซนร้อนกำลังแรง “นากรี” ในทะเลจีนใต้ และพายุไต้ฝุ่น “หะลอง” ในแปซิฟิกตะวันตก
  • 04:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อนกำลังแรง “นากรี” ในทะเลจีนใต้เริ่มเคลื่อนตัวมาทางทิศใต้อย่างช้าๆ พิกัดเวลานี้อยู่ที่ N12°35′ E116°50′ ความเร็วลม 60 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa
  • 01:00 โมเดลเส้นทางพายุจากสำนักอุตุ 6 ประเทศ ส่วนใหญ่จะเห็นว่าพายุ “นากรี” จะมาสลายตัวในลาว มีเพียง JTWC ที่เห็นว่าพายุจะมาสลายตัวในเขตไทย
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
รายชื่อดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกใน 3 วันนี้ (LD คือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

ชื่อดาวเคราะห์น้อย
วันที่
ระยะห่าง
ความเร็ว (กม./วิ)
ขนาด (เมตร)
2019 VM1
2019-Nov-08
11.3 LD
6.1
19
2019 UM12
2019-Nov-08
1.3 LD
13.6
41
2019 UR4
2019-Nov-08
7.3 LD
4.5
15
2019 VE2
2019-Nov-09
7.1 LD
5
12
2019 VB5
2019-Nov-09
0.4 LD
6.2
2
2019 VP3
2019-Nov-09
6.5 LD
9.4
9
2019 VF5
2019-Nov-09
0.5 LD
18
11
2019 VK4
2019-Nov-10
10.8 LD
13.7
16
2019 VT3
2019-Nov-10
9.5 LD
5.3
8
2019 UB7
2019-Nov-10
13.7 LD
17.5
56

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 3 ตุลาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00  สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำอยู่ที่ 6.96 เมตร ปริมาณ 2,268 m³/วินาที ระดับน้ำต่ำกว่าตลิ่ง  (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)  
  • 13:24 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 (mb) ลึก​ 58 กม. พิกัด​ 94.10°E 24.84°N พรมแดน​พม่า-อินเดีย
  • 13:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น อ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชันและสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำไปแล้วในที่พิกัด N38°00′ E131°00′  ในทะเลญี่ปุ่น 
  • 09:00 พายุดีเปรสชัน “นาร์ดา” Narda ที่เม็กซิโก สลายตัวแล้ว
  • 07:30 สรุปสถานการณ์น้ำจากกรมชลประทาน 
  • 07:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น เคลื่อนตัวจากฝั่งประเทศเกาหลีใต้ลงสู่ทะเลญี่ปุนแล้ว ล่าสุดศูนย์กลางพายุอยู่ที่พิกัด N33°50′ E125°20′ ความเร็วลม 40 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa เคลื่อนไปทางตะวันออก แนวโน้มอ่อนกำลังลงต่อเนื่อง
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 02:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 93W ที่พิกัด  14.0°N 170.0°E ทางเหนือของเกาะมาแชล มีโอกาสกลายเป็นดีเปรสชันลูกใหม่ แนวโน้มเคลื่อนไปทางไต้หวัน-ญี่ปุ่น
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 2 ตุลาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 7.26 เมตร ปริมาณ 2,417 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 0.26 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 117 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 19:00 พา่ยุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ขึ้นฝั่งประเทศเกาหลีใต้แล้วในเวลานี้ที่พิกัด N33°50′ E125°20′ ด้วยความเร็วลม 86 กม.ชม ความกดอากาศ 985 hPa เคลื่อนตัวต่อไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ คาดว่าจะไปสลายตัวในทะเบญี่ปุ่น
  • 08:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 โลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 3 ลูกคือ พายุดีเปรสชัน “นาร์ดา” บนฝั่งประเทศเม็กซิโก กำลังจะสลายตัว พายุเฮอริเคน “ลอเรนโซ” ในแปซิฟิกเหนือ กำลังมุ่งไปยุโรป และพายุโซนร้อน  “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ในทะเลจีนตะวันออก กำลังมุ่งไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 1 ตุลาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พา่ยุโซนร้อนกำลังแรง “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น อยู่ที่พิกัด N30°10′ E122°30′ หมู่เกาะโจวซาน มณฑลเจ้อเจียง ความเร็วลม 60 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa มุ่งหน้าต่อไปทางประเทศเกาหลีใต้ 
  • 22:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 22 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=72 อยู่ในมาตรฐาน 
  • 17:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 7.66 เมตร ปริมาณ 2,733 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 0.66 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 433 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 16:00 พายุไต้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง ความเร็วลม 70 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 980 hPa N29°20′ E122°20′ ในทะเลจีนตะวันออก ใกล้มณฑลเจ้อเจียง  มุ่งหน้าต่อไปทางประเทศเกาหลีใต้ 
  • 13:00 พายุโซนร้อน Narda เคลื่อนขึ้นฝั่งทางตะวันตกของเม็กซิโก แนวโน้มอ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชันและสลายตัวในวันพรุ่งนี้
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 07:00 แผนที่ลมระดับผิวพื้นเวลานี้ แสดงให้เห็นมรสุมตะวันออกเฉียงเหนืออ่อนแรง 
  • 04:00 พายุไต้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม 75 น็อต ความกดอากาศ 965 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ N27°05′ E122°30′  ในทะเลจีนตะวันออก  มุ่งหน้าต่อไปทางประเทศเกาหลีใต้ 
  • 04:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 38 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=106 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนสีส้ม ส่งผลไม่ดีต่อผู้ป่วยทางเดินหายใจ เด็ก และคนชรา ส่งผลน้อยต่อบุคคลทั่วไป
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 30 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 พายุไต้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น เคลื่อนเข้าใกล้ไต้หวันที่พิกัด N25°05′ E122°55′ ความเร็วลม 75 น็อต ความกดอากาศ 965 hPa มุ่งหน้าต่อไปทางทะเลจีนตะวันออก
  • 20:00 ค่าฝุ่นละอองขนาด 2.5 ไมครอนในกรุงเทพฯค่ำนี้ เฉลี่ยอยู่ที่ 62 µg/m³ ควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 ขึ้นไปเมื่อต้องอยู่นอกอาคารเป็นเวลานาน
  • 15:50 กทม.มีฝนเล็กน้อยสลับปานกลางเขต บางซื่อ บางพลัด บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ ดุสิต พญาไท
  • 15:00 ภาพดาวเทียมแสดงลักษณะ และตำแหน่งของพายุไต้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ที่กำลังเคลื่อนเข้าใกล้ไต้หวันเวลานี้ อุตุฯไต้หวันหรือ CWB ประกาศเตือนภัยระดับสีม่วงซึ่งเป็นระดับสูงสุดในเทศมณฑลอี๋หลาน และเตือนภัยระดับรองลงมาในเมืองข้างเคียงแล้ว
  • 14:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 131 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=190 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน 16E ทางตะวันตกของเม็กซิโก ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า Narda เส้นทางมุ่งเข้าอ่าวแคลิฟอร์เนีย
  • 11:00 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 10:00 พายุไค้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 70 น็อต ค่าความกดอากาศ 970 hPa พิกัดเวลานี้อยู่ที่ N20°10′ E122°55′ เส้นทางเคลื่อนไปทางริมฝั่งทางตะวันออกเฉียงเหนือของไต้หวันในคืนนี้
  • 08:00 จุดความร้อนในรอบ 24 ชั่วโมงปรากฏมากในภาคกลาง 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 05:00 ค่าฝุ่นละอองขนาด 2.5 ไมครอนในกรุงเทพฯเช้านี้ เฉลี่ยอยู่ที่ 66 µg/m³ ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 ขึ้นไปเมื่อต้องอยู่นอกอาคารเป็นเวลานาน
  • ไต้หวันเตือนฝนหนักใน เถาหยวน อี๋หลาน นิวไทเป จากอิทธิพลไต้ฝุ่น “มิทาค” ที่จะเคลื่อนตัวเข้าใกล้ในวันนี้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 29 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23 :02 แผ่นดินไหว แมกนิจูด 4.4 ลึก 10 กม. พิกัด 36.5°N 149.6°E จังหวัดอิบารากิ ประเทศญี่ปุ่น ความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราชินโดะ
  • 22:57 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.7 (Mw) ลึก​ 25 กม. พิกัด​ 72.96°W 35.42°S ในทะเลใกล้ชายฝั่งตอนกลางของประเทศชิลี 
  • 22:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ทวีกำลังเป็นพายไต้ฝุ่น ความเร็วลม กศก. 65 น็อต ค่าความกดอากาศ 975 hPa พิกัดเวลานี้อยู่ที่ N20°40′ เส้นทางเคลื่อนไปทางริมฝั่งทางเหนือของไต้หวัน จากนั้นเคลื่อนไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้ต่อไปในช่วงวันที่ 2-3 ต.ค.
  • 20:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 59 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=152 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 18:00 พายุแม่เหล็กโลก KP index=5 ที่ก่อตัวตั้งแต่เช้าวานนี้ เริ่มกลับสู่สภาพปกติ
  • 16:02 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 91.52°E  11.14°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 07:15 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 07:00 ตำแหน่งศูนย์กลางพายุโซนร้อน “มิทาค” เวลานี้ ภาพศรลมแสดงแสดงความเร็วลม 55 น็อตใกล้ใจกลางพายุ 
  • 07:00 พบการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 16E ชายฝั่งตะวันตกของเม็กซิโก มีแนวโน้มทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนเคลื่อนตัวเข้าอ่าวแคลิฟอร์เนียต่อไป
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 04:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 50 น็อต ค่าความกดอากาศ 992 hPa มีแนวโน้มพัฒนาเป็นไต้ฝุ่น เส้นทางเคลื่อนไปทางทะเลจีนตะวันออก จากนั้นเคลื่อนไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้ต่อไปในช่วงวันที่ 2 ต.ค.
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

ชื่อ
วันที่ (UTC)
ระยะห่างจากโลก
ความเร็ว (กม/วินาที)
ขนาด (เมตร)
2019 SU3
2019-Sep-24
2.4 LD
2.6
15
523934
2019-Sep-24
10.9 LD
22.3
257
2019 SW1
2019-Sep-24
3 LD
12.7
13
2019 SY4
2019-Sep-24
19.9 LD
8.8
41
2019 QY3
2019-Sep-26
13.9 LD
8.4
40
2019 SP2
2019-Sep-26
5.7 LD
9.4
59
2017 KP27
2019-Sep-26
4.2 LD
4.7
25
2006 QV89
2019-Sep-27
18.1 LD
4.1
31
2019 SE5
2019-Sep-29
5.7 LD
6.6
15
2019 SO1
2019-Sep-29
11.3 LD
7.5
16
2019 SA5
2019-Sep-29
19.3 LD
7.8
24
2019 SN4
2019-Sep-29
6.5 LD
19.6
48
2019 SH3
2019-Sep-30
3.1 LD
14.2
25
2019 SN3
2019-Sep-30
2.2 LD
7.7
17
2019 SP
2019-Sep-30
6.6 LD
15.1
45
2018 FK5
2019-Oct-01
13.3 LD
10.5
8
2019 SX3
2019-Oct-02
8.7 LD
8.7
31
2018 LG4
2019-Oct-02
13.8 LD
8.1
12
2019 SP3
2019-Oct-03
1 LD
8.7
18
2017 TJ4
2019-Oct-05
13.5 LD
8.9
32
2019 SZ4
2019-Oct-06
18.7 LD
6.5
25
2019 RK
2019-Oct-08
16.7 LD
3.1
30
2019 SE2
2019-Oct-12
19.2 LD
10.2
54
162082
2019-Oct-25
16.2 LD
11.2
589
2017 TG5
2019-Oct-25
14.4 LD
11.9
34
2015 JD1
2019-Nov-03
12.9 LD
11.9
269
2010 JG
2019-Nov-12
19.6 LD
14.9
235
481394
2019-Nov-21
11.3 LD
7.9
372
2008 EA9
2019-Nov-23
10.5 LD
2.2
10

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 20 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 12:00 ฝายธาตุน้อย อ.เขื่องใน จ.อุบลฯ เป็นจุดสุดท้ายที่น้ำจากลำน้ำชีไหลผ่านก่อนลงสู่แม่น้ำมูล มีปริมาณน้ำไหลผ่าน1,480 ลบ.ม./วินาที ระดับน้ำสูงกว่าระดับเก็บกัก 2.70 ม.ลดลง70 ซม. จากระดับน้ำสูงสุดเมื่อวันที่ 11 ก.ย.62 ที่ผ่านมา ที่ระดับ 3.40 ม.มีแนวโน้มระดับน้ำลดลงตามลำดับ  via 
  • 11:30 ภาพดาวเทียมของพายุโซนร้อน “ตาปะฮ์” มีศูนย์กลางอยู่ในทะเลทางตอนใต้ของหมู่เกาะโอกินาวะเวลานี้ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 45 น็อต แนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าทะเลจีนตะวันออกในวันพรุ่งนี้ ทาง JMA ประกาศเตือนภัยสีแดงเฝ้าระวังทุกพื้นที่ในโอกินาวะ
  • 10:00 แผนที่ลมที่ความสูง 1500 ม. (850 hPa) แสดงหย่อมความกดอากาศต่ำ 3 หย่อมเรียงตัวพาดผ่านตอนกลางของไทยเวลานี้
  • 07:00 พายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือพายุโซนร้อน “ตาปะฮ์” Tapah ความเร็วลม กศก. 40 น้อต ความกดอากาศ 990 hPa เคลื่อนที่ช้าลง มีแนวโน้มจะเคลื่อนเข้าทะเลจีนตะวันออกในวันพรุ่งนี้ และเคลื่อนเข้าทะเลญี่ปุน่ในวันถัดไป
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ใน อ.หาดใหญ่ เช้านี้มีค่า 76 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=161 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 04:00 ทั่วโลกมีพายุหมุนเขตร้อน 6 ลูกในเวลานี้ ได้แก่ พายุโซนร้อน “ตาปะฮ์” กำลังเคลื่อนเข้าทะเลจีนตะวันออก พายุโซนร้อน “กิโก” พายุโซนร้อน “มาริโอ” พายุโซนร้อน “ลอเรนา” ทางตะวันออกของแปซิฟิก พายุเฮอริเคน “ฮัมเบอร์โต” พายุเฮอริเคน “เจอรี” ในมหาสมุทรแอตแลนติก
  • 02:43 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 4.6(mb) ลึก 10 กม.พิกัด 83.78°E 41.33°N มณฑลซินเจียง ประเทศจีน
  • มีผู้เสียชีวิต 2 รายในเท็กซัส จากการขึ้นฝั่งของพายุ Imelda ที่ก่อให้เกิดฝนหนักน้ำท่วมในหลายพื้นที่ของรัฐตลอด 2 วันที่ผ่านมา (เวลานี้พายุสลายตัวไปแล้ว) ภาพ:CNN
  • 01:00 พายุดีเปรสชัน Imelda สลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำหลังขึ้นฝั่งเท็กซัส
  • โมเดลพยากรณ์ฝนแบบ WRF สำหรับกรุงเทพฯและปริมณฑลบ่ายถึงค่ำวันนี้โดยกรมอุตุ เรียงจากซ้ายไปขวา 16:00 19:00 และ 22:00
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)


ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

Asteroid
Date(UT)
Miss Distance
Velocity (km/s)
Diameter (m)
504800
2019-Sep-14
13.9 LD
14.4
155
2019 RT
2019-Sep-14
13.7 LD
16.6
50
2019 RQ2
2019-Sep-14
9.4 LD
17.2
29
467317
2019-Sep-14
13.9 LD
6.4
389
2019 JF1
2019-Sep-16
11.2 LD
4.3
62
2019 SD
2019-Sep-16
5.8 LD
10.2
29
2018 FU1
2019-Sep-16
18.4 LD
4.7
16
2019 SJ
2019-Sep-16
0.6 LD
8.7
12
2019 RC
2019-Sep-16
17.4 LD
15.1
157
2019 SC
2019-Sep-19
1.4 LD
13.5
12
2019 RP2
2019-Sep-20
8.5 LD
1.6
6
2017 SL16
2019-Sep-21
7.9 LD
6.5
25
2017 SM21
2019-Sep-21
11.5 LD
9.6
20
2019 RE2
2019-Sep-21
19.7 LD
8.7
42
2019 RB3
2019-Sep-21
19 LD
11.8
50
2019 QZ1
2019-Sep-22
12.5 LD
8.2
77
523934
2019-Sep-24
10.9 LD
22.3
257
2019 QY3
2019-Sep-26
13.9 LD
8.4
40
2017 KP27
2019-Sep-26
4.2 LD
4.7
25
2006 QV89
2019-Sep-27
18.1 LD
4.1
31
2018 FK5
2019-Oct-01
13.3 LD
10.5
8
2018 LG4
2019-Oct-02
13.8 LD
8.1
12
2017 TJ4
2019-Oct-05
13.5 LD
8.9
32
2019 RK
2019-Oct-08
16.7 LD
3.1
31
162082
2019-Oct-25
16.2 LD
11.2
589
2017 TG5
2019-Oct-25
14.4 LD
11.9
34
2015 JD1
2019-Nov-03
12.9 LD
11.9
269
2010 JG
2019-Nov-12
19.6 LD
14.9
235

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 11 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่ง 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 10.85 เมตร ปริมาณ 5,085 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 3.85 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 2,785 m³/วินาที
  • 14:00 สภาพอากาศในมาเลเซีย สิงคโปร์ และ 4 จังหวัดชายแดนใต้ของไทย มีค่าฝุ่นควันจากการเผาป่าในอินโดนีเซียในระดับน่าเป็นห่วง
  • 11:00 ทางหลวงหมายเลข 231 สายเลี่ยงเมือง-วารินชำราบ เป็นเส้นทางเดียวที่รถเล็กยังสัญจรได้ หลังกรมชลประทานคาดการณ์แม่น้ำมูลจะขึ้นสูงสุดคืนนี้
  • 10:00 ภาพเปรียบเทียบ 3 วัน ระดับน้ำท่วมชั้น 2 ของบ้าน หน้าหมู่บ้านหาดสวนสุข1 อ.วารินชำราบ จ.อุบลฯ via 
  • 07:30 สภาพฝุ่นควันที่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จากการเผาป่าในอินโดฯ via 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 พายุ “ฟ้าใส” สลายตัวแล้ว ทั่วโลกเวลานี้เหลือพายุโซนร้อน “แกเบรียล” ลูกเดียวทางเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

Asteroid
Date(UT)
Miss Distance
Velocity (km/s)
Diameter (m)
2019 QE1
2019-Sep-05
13.2 LD
6.6
33
2019 RP1
2019-Sep-05
0.1 LD
25.9
10
2019 RM1
2019-Sep-05
8.2 LD
7.6
10
2019 RD1
2019-Sep-06
6.1 LD
7.1
15
2019 GT3
2019-Sep-06
19.5 LD
13.6
212
2019 RA
2019-Sep-07
4.5 LD
5.7
29
2019 RC1
2019-Sep-07
0.5 LD
20.4
6
2019 QZ
2019-Sep-08
15.7 LD
4.3
22
2019 RX1
2019-Sep-09
9.7 LD
13.3
29
2019 QZ3
2019-Sep-09
9.7 LD
7.5
40
2019 RG2
2019-Sep-09
1.4 LD
22
12
2019 QY4
2019-Sep-10
2.5 LD
7.8
10
2019 RH
2019-Sep-10
7 LD
16.8
23
2019 RX2
2019-Sep-12
7.2 LD
5.3
7
2019 RJ1
2019-Sep-12
10.8 LD
10.4
15
2010 RM82
2019-Sep-13
18.2 LD
14.6
23
2013 CV83
2019-Sep-13
16.1 LD
13.1
62
504800
2019-Sep-14
13.9 LD
14.4
155
2019 RT
2019-Sep-14
13.7 LD
16.6
48
2019 RQ2
2019-Sep-14
9.4 LD
17.2
30
467317
2019-Sep-14
13.9 LD
6.4
389
2019 JF1
2019-Sep-16
11.2 LD
4.3
62
2018 FU1
2019-Sep-16
18.4 LD
4.7
16
2019 RC
2019-Sep-16
17.5 LD
15.1
154
2019 RP2
2019-Sep-20
8.5 LD
1.6
6
2017 SL16
2019-Sep-21
7.9 LD
6.5
25
2017 SM21
2019-Sep-21
11.5 LD
9.6
20
2019 RE2
2019-Sep-21
19.7 LD
8.7
38
2019 RB3
2019-Sep-21
19 LD
11.8
51

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 28 สิงหาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들  ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N16°55′ E113°9′
  • 20:40 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (Mw) ลึก​ 42 กม. พิกัด​ 93.30°E 13.09°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย 
  • 19:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들  ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N16°55′ E114°20′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa 
  • 18:00 อัพเดทแบบประเมินเส้นทางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 จากสำนักอุตุนิยม 6 ประเทศ ร้อยละ 50 เห็นว่าจะ “เข้าไทย” โดย HKO และ JTWC เห็นว่าจะเข้ามาสลายตัวในภาคเหนือ JMA เห็นว่าจะเข้ามาสลายตัวในภาคอีสาน ที่เหลือเห็นว่าพายุจะสลายตัวใน สปป ลาว
  • 17:00 เสียชีวิต 2 รายจากฝนหนักถล่มภูมิภาคคิวชูของญี่ปุ่น [wpvp_embed type=youtube video_code=IsVKpRLudoo width=560 height=315]
  • 16:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 (อาจออกเสียง บอดึล หรือ ปอดึล)อยู่ที่พิกัด N17°00′ E114°50′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa คาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามช่วงเที่ยง-บ่ายของวันที่ 30 ส.ค.62
  • 07:30 ภาพดาวเทียมจาก The Weather Chanel แสดงขนาดและตำแหน่งพายุโซนร้อน “พอดึล” ในทะเลจีนใต้ ที่กำลังเคลื่อนที่เข้ามาทางเวียดนาม
  • 07:00 พายุโซนร้อน “พอดึล” เคลื่อนตัวลงทะเลจีนใต้แล้ว ศูนย์กลางพายุลาสุดอยู่ที่พิกัด N17°35′ E119°05′ ความเร็วลม 35 น็อต ความกดอากาศ 998 hPa เคลื่อนตัวมาทางเวียดนาม
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:55 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.6 ลึก 10 กม.พิกัด 26.43°W 60.32°S หมู่เกาะเซาท์แซนวิส
  • 06:00 แบบประเมินเส้นทางพายุโซนร้อน “พอดึล” จากสำนักอุตุนิยม 6 ประเทศ ส่วนใหญ่เห็นว่าพายุจะสลายตัวใน สปป ลาว มีเพียง HKO หรืออุตุนิยมฮ่องกงเห็นว่าพายุจะเข้ามาในเขตภาคเหนือของไทยและไปสลายตัวในพม่า 
  • 06:00 เช้านี้อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุณหภูมิ ต่ำสุด 9°C
  • 01:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” หรือที่ PAGASA เรียกว่า “เจนนี” อยู่บนเกาะลูซอน กำลังจะเคลื่อนตัวลงทะเลจีนใต้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

ดาวเคราะห์น้อย
วันที่
ระยะห่างโลก
ความเร็ว (กม./วินา่ที)
ขนาด (เมตร)
2019 QD
2019-Aug-22
0.8 LD
15.1
6
2019 QP2
2019-Aug-23
5.5 LD
17.5
40
2019 QQ
2019-Aug-25
10 LD
12.2
32
2016 PD1
2019-Aug-26
11.3 LD
5.9
65
2019 QR
2019-Aug-27
11.8 LD
7.2
20
2002 JR100
2019-Aug-27
19.4 LD
8.4
49
2019 QS
2019-Aug-28
5.5 LD
22.6
41
2019 OU1
2019-Aug-28
2.7 LD
13
102
2019 QP1
2019-Aug-31
10.5 LD
8.9
18
2019 QX1
2019-Sep-02
18.9 LD
16.8
30
2019 OF2
2019-Sep-03
18.3 LD
10.7
53
2018 DE1
2019-Sep-03
12.7 LD
6.6
28
2019 QE1
2019-Sep-05
13.2 LD
6.6
34
2019 GT3
2019-Sep-06
19.5 LD
13.6
218
2019 QZ
2019-Sep-08
15.7 LD
4.3
21
2010 RM82
2019-Sep-13
18.2 LD
14.6
23
2013 CV83
2019-Sep-13
16.1 LD
13.1
62
504800
2019-Sep-14
13.9 LD
14.4
155
467317
2019-Sep-14
13.9 LD
6.4
389
2019 JF1
2019-Sep-16
11.2 LD
4.3
62
2018 FU1
2019-Sep-16
18.4 LD
4.7
16
2017 SL16
2019-Sep-21
7.9 LD
6.5
25
2017 SM21
2019-Sep-21
11.5 LD
9.6
20
2019 QZ1
2019-Sep-22
12.5 LD
8.2
77
523934
2019-Sep-24
10.9 LD
22.3
257
2017 KP27
2019-Sep-26
6.2 LD
4.8
25
2006 QV89
2019-Sep-27
18.1 LD
4.1
31
2018 FK5
2019-Oct-01
13.3 LD
10.5
8
2018 LG4
2019-Oct-02
13.8 LD
8.1
12
2017 TJ4
2019-Oct-05
13.5 LD
8.9
32
162082
2019-Oct-25
16.2 LD
11.2
589
2017 TG5
2019-Oct-25
14.4 LD
11.9
34

ข้อมูลจาก spaceweather.com