รายงานภัยพิบัติ 28 สิงหาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들  ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N16°55′ E113°9′
  • 20:40 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (Mw) ลึก​ 42 กม. พิกัด​ 93.30°E 13.09°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย 
  • 19:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들  ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N16°55′ E114°20′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa 
  • 18:00 อัพเดทแบบประเมินเส้นทางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 จากสำนักอุตุนิยม 6 ประเทศ ร้อยละ 50 เห็นว่าจะ “เข้าไทย” โดย HKO และ JTWC เห็นว่าจะเข้ามาสลายตัวในภาคเหนือ JMA เห็นว่าจะเข้ามาสลายตัวในภาคอีสาน ที่เหลือเห็นว่าพายุจะสลายตัวใน สปป ลาว
  • 17:00 เสียชีวิต 2 รายจากฝนหนักถล่มภูมิภาคคิวชูของญี่ปุ่น [wpvp_embed type=youtube video_code=IsVKpRLudoo width=560 height=315]
  • 16:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 (อาจออกเสียง บอดึล หรือ ปอดึล)อยู่ที่พิกัด N17°00′ E114°50′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa คาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามช่วงเที่ยง-บ่ายของวันที่ 30 ส.ค.62
  • 07:30 ภาพดาวเทียมจาก The Weather Chanel แสดงขนาดและตำแหน่งพายุโซนร้อน “พอดึล” ในทะเลจีนใต้ ที่กำลังเคลื่อนที่เข้ามาทางเวียดนาม
  • 07:00 พายุโซนร้อน “พอดึล” เคลื่อนตัวลงทะเลจีนใต้แล้ว ศูนย์กลางพายุลาสุดอยู่ที่พิกัด N17°35′ E119°05′ ความเร็วลม 35 น็อต ความกดอากาศ 998 hPa เคลื่อนตัวมาทางเวียดนาม
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:55 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.6 ลึก 10 กม.พิกัด 26.43°W 60.32°S หมู่เกาะเซาท์แซนวิส
  • 06:00 แบบประเมินเส้นทางพายุโซนร้อน “พอดึล” จากสำนักอุตุนิยม 6 ประเทศ ส่วนใหญ่เห็นว่าพายุจะสลายตัวใน สปป ลาว มีเพียง HKO หรืออุตุนิยมฮ่องกงเห็นว่าพายุจะเข้ามาในเขตภาคเหนือของไทยและไปสลายตัวในพม่า 
  • 06:00 เช้านี้อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุณหภูมิ ต่ำสุด 9°C
  • 01:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” หรือที่ PAGASA เรียกว่า “เจนนี” อยู่บนเกาะลูซอน กำลังจะเคลื่อนตัวลงทะเลจีนใต้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

ดาวเคราะห์น้อย
วันที่
ระยะห่างโลก
ความเร็ว (กม./วินา่ที)
ขนาด (เมตร)
2019 QD
2019-Aug-22
0.8 LD
15.1
6
2019 QP2
2019-Aug-23
5.5 LD
17.5
40
2019 QQ
2019-Aug-25
10 LD
12.2
32
2016 PD1
2019-Aug-26
11.3 LD
5.9
65
2019 QR
2019-Aug-27
11.8 LD
7.2
20
2002 JR100
2019-Aug-27
19.4 LD
8.4
49
2019 QS
2019-Aug-28
5.5 LD
22.6
41
2019 OU1
2019-Aug-28
2.7 LD
13
102
2019 QP1
2019-Aug-31
10.5 LD
8.9
18
2019 QX1
2019-Sep-02
18.9 LD
16.8
30
2019 OF2
2019-Sep-03
18.3 LD
10.7
53
2018 DE1
2019-Sep-03
12.7 LD
6.6
28
2019 QE1
2019-Sep-05
13.2 LD
6.6
34
2019 GT3
2019-Sep-06
19.5 LD
13.6
218
2019 QZ
2019-Sep-08
15.7 LD
4.3
21
2010 RM82
2019-Sep-13
18.2 LD
14.6
23
2013 CV83
2019-Sep-13
16.1 LD
13.1
62
504800
2019-Sep-14
13.9 LD
14.4
155
467317
2019-Sep-14
13.9 LD
6.4
389
2019 JF1
2019-Sep-16
11.2 LD
4.3
62
2018 FU1
2019-Sep-16
18.4 LD
4.7
16
2017 SL16
2019-Sep-21
7.9 LD
6.5
25
2017 SM21
2019-Sep-21
11.5 LD
9.6
20
2019 QZ1
2019-Sep-22
12.5 LD
8.2
77
523934
2019-Sep-24
10.9 LD
22.3
257
2017 KP27
2019-Sep-26
6.2 LD
4.8
25
2006 QV89
2019-Sep-27
18.1 LD
4.1
31
2018 FK5
2019-Oct-01
13.3 LD
10.5
8
2018 LG4
2019-Oct-02
13.8 LD
8.1
12
2017 TJ4
2019-Oct-05
13.5 LD
8.9
32
162082
2019-Oct-25
16.2 LD
11.2
589
2017 TG5
2019-Oct-25
14.4 LD
11.9
34

ข้อมูลจาก spaceweather.com

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *