No Hazard (White Zone) |
0 |
โอกาสของการปะทะเป็นศูนย์หรือต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และอาจหมายถึงวัตถุขนาดเล็กเช่นอุกกาบาตที่เผาไหม้จนหมดสิ้นในชั้นบรรยากาศ จึงไม่เกิดความเสียหาย |
Normal (Green Zone) |
1 |
เป็นระดับปกติ ที่เกิดเสมอ ในเทหวัตถุที่มีวงจรประจำ และการเข้าใกล้โลกของเทหวัตถุนั้น ไม่มีจุดใดที่ต้องสร้างความกังวลให้ประชาชน หลังจากนี้ จะมีการสังเกตด้วยกล้องโทรทรรศน์ และจะมีการประเมิณค่าเทอริโนอีกครั้ง ไปที่ระดับ 0 |
Meriting Attention by Astronomers (Yellow Zone) |
2 |
เป็นการค้นพบเทหวัตถุใกล้โลกดวงใหม่ ที่แนวโคจรของเทหวัตถุนั้นยังไม่ได้รับการคำนวนแน่นอนว่าจะย้อนกลับมาใกล้โลกอีกครั้งในอนาคตเมื่อใด นักดาราศาสตร์จะมีการคำนวนวงโคจรที่แน่ชัดต่อไป หลังจากนี้ จะมีการสังเกตด้วยกล้องโทรทรรศน์ และจะมีการประเมิณค่าเทอริโนอีกครั้ง ไปที่ระดับ 0 |
3 |
แนวการเคลื่อนที่มีแนวโน้มใกล้โลกมากขึ้นจนได้รับความสนใจจับตาดูจากนักดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง หลักการคำนวณปัจจุบันให้มีโอกาส 1% หรือมากกว่า ในการเข้าสู่บรรยากาศโลก จะมีการติดตามเฝ้าดูด้วยกล้องโทรทรรศน์ เพื่อประเมิณและประกาศเป็นระดับ 0 ต่อไป โดยระยะการเข้าใกล้โลกในระดับที่ 3 นี้จะไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า ระดับความอันตรายเฉพาะพื้นที่จำกัด | |
4 |
แนวการเคลื่อนที่มีแนวโน้มใกล้โลกมากขึ้นจนได้รับความสนใจจับตาดูจากนักดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง หลักการคำนวณปัจจุบันให้มีโอกาส 1% หรือมากกว่า ในการเข้าสู่บรรยากาศโลก จะมีการติดตามเฝ้าดูด้วยกล้องโทรทรรศน์ เพื่อประเมิณและประกาศเป็นระดับ 0 ต่อไป โดยระยะการเข้าปะทะตามระดับที่ 4 นี้จะไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า ระดับของความอันตรายคือระดับภูมิภาค | |
Threatening (Orange Zone) |
5 |
แนวการเคลื่อนของเทหวัตถุ มีแนวโน้มใกล้โลกในระดับที่น่าห่วง ต้องการการประเมิณจากนักดาราศาสตร์เพื่อคำนวนโอกาสในการเข้าชน หากการเข้าใกล้ในลักษณะนี้จะเกิดภายในระยะ 10 ปี จะมีการแจ้งให้รัฐบาลเตรียมการรับมือ ระดับของความอันตรายคือระดับภูมิภาค |
6 |
แนวการเคลื่อนของเทหวัตถุขนาดใหญ่ มีแนวโน้มใกล้โลกในระดับที่น่าห่วง ต้องการการประเมิณจากนักดาราศาสตร์เพื่อคำนวนโอกาสในการเข้าชน หากการเข้าใกล้ในลักษณะนี้จะเกิดภายในระยะ 10 ปี จะมีการแจ้งให้รัฐบาลสากลเตรียมการรับมือ ระดับของความอันตรายคือระดับโลก | |
7 |
แนวการเคลื่อนของเทหวัตถุขนาดใหญ่ มีแนวโน้มใกล้โลกในระดับที่มีโอกาสชนสูงสุดในรอบศตวรรษ ต้องการการประเมิณจากนักดาราศาสตร์เพื่อคำนวนโอกาสในการเข้าชนว่าจะเกิดแน่หรือไม่ มีการประกาศให้รัฐบาลทั่วโลกเตรียมการรับมือ ไม่ว่าผลการคำนวนโอกาสเข้าชนจะเป็นเช่นใด | |
Certain Collisions (Red Zone) |
8 |
การปะทะเกิดขึ้นแน่นอน และจุดตกหากเกิดขึ้นบนพื้นดินจะมีการทำลายล้างในระดับประเทศ หากตกใกล้ฝั่งจะเกิดสึนามิทำลายล้างเป็นบริเวณกว้าง ช่วงการปะทะแบบนี้อาจจะเกิดทุกๆรอบ 50-1000 ปี |
9 |
การปะทะเกิดขึ้นแน่นอน และจุดตกหากเกิดขึ้นบนพื้นดินจะมีการทำลายล้างในระดับทวีปหรือระดับโลก หากตกในมหาสมุทร ะเกิดสึนามิขนาดยักษ์ทำลายล้างเป็นบริเวณกว้างมาก ช่วงการปะทะแบบนี้อาจจะเกิดทุกๆรอบ 10000-100000 ปี | |
10 |
การปะทะเกิดขึ้นแน่นอน และจุดตกไม่ว่าที่ใด จะเกิดการทำลายล้างอาจถึงขั้นสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตบางสายพันธุ์ หรือทำลาบล้างความศิวิไลซ์จนหมดสิ้นไปจากโลก รอบการเกิดอยู่ในช่วงหลายแสนปีลงมา |
Pingback: ดาวเคราะห์น้อย 2015 TB145 | STEM.in.th
Pingback: นักดาราศาสตร์มั่นใจดาวเคราะห์น้อย 2013 TX68 จะไม่เข้าชนโลกแน่นอน | STEM.in.th
Pingback: ดาวเคราะห์น้อย 3 ดวง ที่มีขนาดและโอกาสเข้าใกล้โลกในระดับที่ต้องจับตาดู | STEM.in.th
Pingback: ดาวเคราะห์น้อยรูป “หัวกระโหลก” จะเข้าเฉียดโลกเดือน พ.ย.นี้ | STEM.in.th
Pingback: รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 22 สิงหาคม 2557 | เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com
Amazing issues here. I’m very happy to look your post.
Thanks so much and I’m looking forward to contact you. Will you kindly drop me a e-mail?
Pingback: รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 26 ตุลาคม 2556 | เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com
Pingback: รวม Link ข้อมูลสำคัญด้านภัยพิบัติ « Mr.Vop's Blog
Pingback: รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 2 มาราคม 2556 | เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com
Pingback: ข่าว-ดาวเคราะห์น้อยชนโลกปี ค.ศ. 2040 | เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com