รายงาน​ภัยพิบัติ​ 18 พฤษภาคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 14:00 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 08:00
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 04:08 พบการปะทุแฟล์ในความรุนแรง​ระดับ​ M7 จากจุดมืดหมายเลข​ AR3685​ บริเวณ​ขอบด้านตะวันออก​ของดวงอาทิตย์​ ถือเป็นการปะทุขนาดเล็กในทิศทางที่ไม่ส่งผลต่อโลก
  • 01:45 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 19:45

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 14 พฤษภาคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:55 จุดดำ​หมายเลข​ AR3664​ ที่ขอบด้านตะวันตกเฉียงใต้​ของดวงอาทิตย์​ และเคยปล่อย CME​ ใส่โลกเมื่อสัปดาห์​ก่อนจนเกิดพายุแม่เหล็กโลกครั้งใหญ่ไปแล้ว​นั้น  เวลานี้ปะทุแฟล์ระดับ X8.7 ซึ่งถือว่ารุนแรงที่สุดในวัฏจักรสุริยะนี้  แม้จะไม่หันตรงมาทางโลก แต่ความรุนแรงจากการปะทุครั้งนี้ก็ยังคงปลดปล่อย รังสีอัลตราไวโอเลตและรังสีเอกซ์ออกมาเป็นปริมาณมาก ส่งผลให้ เกิดการรบกวนการสื่อสารทางวิทยุในช่วงคลื่น 30​MHz​ บนผิวโลกเป็นวงกว้าง
  • 22:45 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ภูเก็ต​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 22:00 ไม่มีพายุแม่เหล็ก​โล​กในเวลานี้​ สนามแม่เหล็ก​โลก​อยู่​ในระดับปกติ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 02:15 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 20:15

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 12 พฤษภาคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 พายุ​แม่เหล็ก​โล​กสิ้นสุดลง ความปั่นป่วน​ของสนาม​แม่เหล็ก​โลกลดระดับลงเป็นปกติแล้ว
  • 18:39 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.2 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 92.17°W 14.55°N เอล ปลาตานา ประเทศ​กัวเตมาลา
  • 16:05 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25 นาที​ที่ผ่านมา
  • 12:00 แท่งกราฟชนิด 3 ชั่วโมง​ แสดงให้เห็น​ว่าพายุแม่เหล็ก​โลกจากการเข้าปะทะของมวลสาร CME ที่ปะทุออกมาจากจุดดำหมายเลข​ AR3664 บนดวงอาทิตย์​ ลดระดับ​ลงมาที่ G3 อย่างวมบูรณ์ แนวโน้ม​ลดระดับ​ลงอย่าง​ต่อ​เนื่อง​
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 02:00 แท่งกราฟชนิด 3 ชั่วโมง​ แสดงให้เห็น​ว่าพายุแม่เหล็ก​โลกจากการเข้าปะทะของมวลสาร CME ที่ปะทุออกมาจากจุดดำหมายเลข​ AR3664 บนดวงอาทิตย์​ ลดระดับ​ลงมาที่ G3 ยังคงมีรายงานการเห็นแสงเหนือมาจากหลายประเทศ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​วชิราลงกรณ์​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 11 พฤษภาคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00​ เรดาร์​ฝน​ TMD ลำ​พูน​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​เหนือ​ ในช่วง 1 ชั่วโมง​ 15​ นาที​ ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 18:00 แท่งกราฟชนิด 3 ชั่วโมง​ แสดงให้เห็น​ว่าพายุแม่เหล็ก​โลกจากการเข้าปะทะของมวลสาร CME ที่ปะทุออกมาจากจุดดำหมายเลข​ AR3664 บนดวงอาทิตย์​ ขึ้นลงที่ระดับ G4​- G5 หลายพื้นที่​ในละติจูด​ต่ำ มีโอกาส​ได้เห็​นแสงออโรรา ซึ่งเป็นเหตุการณ์​ที่ไม่พบในยามปกติ
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 15:15 เรดาร์​ฝน​ TMD ชัยนาท​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​​กลาง​ช่วง 1 ชั่วโมง​15 นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 08:00 พายุแม่เหล็ก​โลกจากการเข้าปะทะของ มวลสาร CME ที่ปะทุออกมาจากจุดดำหมายเลข​ AR3664 บนดวงอาทิตย์​ เพิ่มระดับขึ้นไปที่  G5 หรือ ค่า K-Index ระดับ 9 ซึ่งเป็นระดับสูงสุด อาจส่งผลต่อการทำงานของดาวเทียมดวงที่โคจรอยู่ในเส้นทางของอนุภาค อาจมีการรบกวนคลื่นวิทยุความถี่ HF ภาคพื้นดิน รวมถึงมีกระแสเหนี่ยวนำในหม้อแปลงไฟ​ฟ้า​และท่อส่งน้ำมันขนาดใหญ่​​
  • 05:10 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25​ นาที​ที่ผ่านมา

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​
  • สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 9 พฤษภาคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:18 จุดดำ AR3664​ บนดวงอาทิตย์​ ปะทุและปล่อย CME ในทิศทางตรงมายังโลก คาดว่าจะเข้าปะทะสนามแม่เหล็ก​โลก​ในวันที่ 11 พ.ค.
  • 18:30​ เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ภูเก็ต​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 16:15 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25 นาที​ที่ผ่านมา
  • 16:00​ เรดาร์​ฝน​ TMD ลำ​พูน​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​เหนือ​ ในช่วง 1 ชั่วโมง​ 15​ นาที​ ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:00​ เรดาร์​ฝน​ TMD ขอนแก่น​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ ช่วง 1 ชั่วโมง​15 นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 2​4 มีนาคม 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:34 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 (mb) ลึก​ 109​ กม.พิกัด 108.62°E 7.66°S จังหวัดเวสต์​ชวา ประเทศ​อินโดนีเซีย
  • 21:37 มวลสาร CME​ จากดวงอาทิตย์​ที่เกิดเพราะการปะทุของจุดมืดหมายเลข​ AR3614และ AR3615 เข้าชนกับสนามแม่เหล็ก​โลก​ ลักษณะ​เช่นนี้​จะก่อพายุแม่เหล็ก​โลกระดับ G4 ส่งผลรบกวนคลื่นสื่อสารในบางพื้นที่​และก่อให้เกิดแสงออโรราแถบขั้วโลก​ใต้
  • 18:53 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.1 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 133.37°E 1.69°S จังหวัด​เวสต์​ปาปัว​ ประเทศ​อิน​โดน​นีเซีย
  • 08:30​ เกิดการปะทุใน​ความรุนแรง​ระดับ​ X จากจุด​มืดหมายเลข​ AR3614 และ AR3615 บนดวงอาทิตย์​ ในทิศทางที่หันมาทางโลก คาดว่าจะเกิด CME เข้าชนสนามแม่เหล็ก​โลกใน 48 ชั่วโมง​จากนี้
  • 07:12 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 55.72°E 27.51°N ประเทศ​อิหร่าน
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 03:22 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.8 (Mw) ลึก​ 65​ กม.พิกัด 143.12°E 4.10°S จังหวัด​เซปิกตะวันออก เกาะ​นิ​ว​กินี​ ประเทศ​ปาปัว​นิ​วกินี

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 16 กุมภาพันธ์​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 13:53 เกิดการ​ปะทุ​ขนาด X2.5 จากจุดมืดหมายเลข AR3576 บนดวงอาทิตย์ ส่งผลให้เกิดการเหนี่ยวนำ​กระแสโปรตอนพุ่งสูง​ถึง 50 MeV​ ที่อาจส่งผล​กระทบ​ต่อ​การ​ทำงาน​ของ​ดาวเทียม​บางดวง
  • 07​:00​ เปรียบเทียบ​อุณหภูมิต่ำสุดในจังหวัดต่างๆของภาคเหนือ​เช้านี้และเช้าวานนี้ ที่มาจากกรมอุตุ
  • 01:43 ข้อมูล​จากดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี โดย GISTDA​ แสดงตำแหน่ง​จุดความร้อน​ในประเทศ​ไทยและประเทศ​เพื่อนบ้าน​ล่าสุด​​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 1 มกราคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 ยอดผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหว7.6 ที่ จ.อิชิคาวะของญี่ปุ่น  อยู่ที่ 238 ราย ในจำนวนดังกล่าว มีผู้เสียชีวิต 32 ราย จากอาการไฮโปเธอร์เมีย จากสภาพอากาศหนาวเย็น โชคดีที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ชิกะของโฮคุริกุ ศึ่งอยู่​ใกล้ที่สุด หยุดเตาปฏิกรณ์​ทั้ง 2 เครื่อง​เพื่อตรวจสอบตามขั้นตอน​ประจำปี
  • 14:56 อาฟเตอร์ช็อกขนาด​ 5.7 ลึก​ 20​ กม.พิกัด 37.3N 136.9E อำเภอโฮซุ จังหวัดอิชิกาวะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 5​- ตามมาตรา​ชิ​นโ​ดะ
  • 14:22 JMA หรืออุตุนิยมญี่ปุ่น ออกคำเตือน คลื่นสึนามิ มีความสุง มากกว่า 3 เมตร(สีม่วง)​ ระดับ 3 เมตร (สีแดง)​ ระดับ 1 เมตร (สีเหลือง)​ ตลอดแนวชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น​ จากแผ่นดินไหว​ 7.6 ในจังหวัดอิชิกาวะ
  • 14:18 อาฟเตอร์ช็อก​ขนาด 6.1 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 37.2N136.9E อำเภอโฮซุ จังหวัดอิชิกาวะ คาบสมุทร​โนโตะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 5​+ ตามมาตรา​ชิ​นโ​ดะ
  • 14:10 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 7.6 MJMA ตื้นมาก พิกัด 37.5N137.2E เมืองชิกะ (Shika)​ จังหวัดอิชิกะวะ คาบสมุทร​โนโตะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 7 ตามม​าตราชินโดะ
  • 14:06 แผ่นดินไหว​ฟอร์ช็อคขนาด​ 5.7 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 37.5N137.3E จังหวัดอิชิกะวะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 5+ ตามมาตรา​ชิ​นโ​ดะ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 04:55 เกิดการปะทุด้วยความรุนแรง​ระดับ​ X5 จากจุดมืดหมายเลข 3536 ที่ขอบด้านตะวันออก​ของดวงอาทิตย์​ในทิศทางที่ไม่ได้หันตรงมาทางโลกเรา ถือเป็นการปะทุครั้งรุนแรงที่สุดในวัฎจักร​สุริยะ​ที่ 25 คือคาบเวลาที่เราอยู่นี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 29 พฤศจิกายน​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:15 เรดาร์​ตรวจอากาศ​ระดับ​ตำบล​ จ.พัทลุง ของ​ ​TMD​ ​​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 18:45 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 15:12 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 (mb) ลึก​ 24 ​ กม.พิกัด 95.26°E 12.16°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:45 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 00​:45
  • 02:50 เกิดการปะทุขนาด M9.8 จากบริเวณ​จุดมืด​หมายเลข​ 3500 ​ ส่งผลให้เกิดคลื่นรบกวนวิทยุช่วง​ความถี่​ ~20 MHz ในแปซิฟิก​ใต้ นอกจากนี้ยังพบ CME​ ในทิศทางของโลก คาดว่าจะเข้ากระทบสนามแม่เหล็ก​ในวันที่ 1 ธ.ค. แต่ไม่ส่งผลใดนอกจากเกิดแสงเหนือ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 3​ ตุลาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:21 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.7 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 81.32°E 29.54°N ประเทศ​เนปาล
  • 16:00​ เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 15:55 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 81.29°E 29.47°N ประเทศ​เนปาล
  • 15:30 น้ำท่วมขัง อ.เมือง​ ระยอง​ จากฝนที่ตกหนักต่อเนื่องหลายชั่วโมง cr:ภาพ @yui_withyou
  • 15:15 เรดาร์​ฝน​ TMD หัวหิน ​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน จังหวัด​ต่างๆ​ที่อยู่​บริเวณ​อ่าวไทยตอนบน​ ​ตลอด​ 1 ชั่วโมง​ 15 นาที ที่ผ่านมา
  • 15:06 เรดาร์​กรมฝนหลวง​สาขาสัตหีบ​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​และ​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​เวลานี้ ​(เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก ​7​ ชั่วโมง​ให้​เป็นเวลา​ไทย)​
  • 11:55 ดวงอาทิตย์วันนี้ ลมสุริยะความเร็ว 425 กม./วินาที​ จุดมืดหรือจุดปฏิกิริยา มีจำนวนและหมายเลขแสดงตามภาพ
  • 07:00​  แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:30​ เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 00:30
  • 06:30​ ภาพ​ดาวเทียม​ล่าสุด​ของ​พายุ​ไต้ฝุ่น​ “โคอินุ” こいぬ Koinu​
  • 01:00​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)