รายงาน​ภัยพิบัติ​ 1​4 กุมภาพันธ์​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:16 แผ่นดินไหว ขนาด​ 5.4 ลึก​ 10​ กม.พิกัด​ 23.21°E 45.13°N ประเทศ​โรมาเนีย
  • 15:00 พายุโซนร้อน Gabrielle ทวีกำลังเป็นพายุไซโคลน เคลื่อนตัวเข้าเลียดฝั่งเกาะเหนือนิวซีแลนด์ ก่อให้เกิดฝนหนักน้ำท่วมดินถล่ม มีผู้เสียชีวิต 5+ ราย อ่านข่าวเดอะกาเดียน
  • 12:00 สถานการณ์หมอกควัน ฝุ่นละออง และคุณภาพอากาศบริเวณภาคเหนือ เกินค่ามาตรฐานและส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อเนื่อง​
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 01:38 แผ่นดินไหว​ขนาด 4.8 ลึก 10 กิโลเมตร​ พิกัด​ 92.64°E 38.92°N มณฑล​ชิงไห่​ ประเทศ​จีน
  • ตำแหน่ง​และหมายเลข​จุดมืด​ล่าสุด​บน​ดวงอาทิตย์​
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 11 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่ง 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 10.85 เมตร ปริมาณ 5,085 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 3.85 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 2,785 m³/วินาที
  • 14:00 สภาพอากาศในมาเลเซีย สิงคโปร์ และ 4 จังหวัดชายแดนใต้ของไทย มีค่าฝุ่นควันจากการเผาป่าในอินโดนีเซียในระดับน่าเป็นห่วง
  • 11:00 ทางหลวงหมายเลข 231 สายเลี่ยงเมือง-วารินชำราบ เป็นเส้นทางเดียวที่รถเล็กยังสัญจรได้ หลังกรมชลประทานคาดการณ์แม่น้ำมูลจะขึ้นสูงสุดคืนนี้
  • 10:00 ภาพเปรียบเทียบ 3 วัน ระดับน้ำท่วมชั้น 2 ของบ้าน หน้าหมู่บ้านหาดสวนสุข1 อ.วารินชำราบ จ.อุบลฯ via 
  • 07:30 สภาพฝุ่นควันที่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จากการเผาป่าในอินโดฯ via 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 พายุ “ฟ้าใส” สลายตัวแล้ว ทั่วโลกเวลานี้เหลือพายุโซนร้อน “แกเบรียล” ลูกเดียวทางเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

Asteroid
Date(UT)
Miss Distance
Velocity (km/s)
Diameter (m)
2019 QE1
2019-Sep-05
13.2 LD
6.6
33
2019 RP1
2019-Sep-05
0.1 LD
25.9
10
2019 RM1
2019-Sep-05
8.2 LD
7.6
10
2019 RD1
2019-Sep-06
6.1 LD
7.1
15
2019 GT3
2019-Sep-06
19.5 LD
13.6
212
2019 RA
2019-Sep-07
4.5 LD
5.7
29
2019 RC1
2019-Sep-07
0.5 LD
20.4
6
2019 QZ
2019-Sep-08
15.7 LD
4.3
22
2019 RX1
2019-Sep-09
9.7 LD
13.3
29
2019 QZ3
2019-Sep-09
9.7 LD
7.5
40
2019 RG2
2019-Sep-09
1.4 LD
22
12
2019 QY4
2019-Sep-10
2.5 LD
7.8
10
2019 RH
2019-Sep-10
7 LD
16.8
23
2019 RX2
2019-Sep-12
7.2 LD
5.3
7
2019 RJ1
2019-Sep-12
10.8 LD
10.4
15
2010 RM82
2019-Sep-13
18.2 LD
14.6
23
2013 CV83
2019-Sep-13
16.1 LD
13.1
62
504800
2019-Sep-14
13.9 LD
14.4
155
2019 RT
2019-Sep-14
13.7 LD
16.6
48
2019 RQ2
2019-Sep-14
9.4 LD
17.2
30
467317
2019-Sep-14
13.9 LD
6.4
389
2019 JF1
2019-Sep-16
11.2 LD
4.3
62
2018 FU1
2019-Sep-16
18.4 LD
4.7
16
2019 RC
2019-Sep-16
17.5 LD
15.1
154
2019 RP2
2019-Sep-20
8.5 LD
1.6
6
2017 SL16
2019-Sep-21
7.9 LD
6.5
25
2017 SM21
2019-Sep-21
11.5 LD
9.6
20
2019 RE2
2019-Sep-21
19.7 LD
8.7
38
2019 RB3
2019-Sep-21
19 LD
11.8
51

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 10 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนนอกเขตร้อน 2 ลูก คือ “แกเบรียล” ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ และ “ฟ้าใส” ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก
  • 17:30 เรดาร์ กทม แสดงกลุ่มฝนเคลื่อนตัวทิศตะวันออกเฉียงเหนือเข้ามาตกในหลายจังหวัดของภาคกลางตอนล่างรวมทั้งกรุงเทพฯและปริมณฑล
  • 12:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต และเขื่อนที่มี % น้ำเก็บกักมากในระดับวิกฤตเวลานี้  
  • 08:00 พายุหมุนเขตร้อนทั่วโลกบางลูกสลายตัวไปแล้ว เวลานี้เหลือเป็นลักษณะพายุโซนร้อน 3 ลูกได้แก่ “ฟ้าใส” ในแปซิฟิกตะวันตก “ดอเรียน” และ “กราเบรียล” ในแอตแลนติกเหนือ
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 ไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” หรือพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ลดความเร็วลมลงเหลือ 50 น็อต กลายเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง ความกดอากาศ 990 hPa เคลื่อนออกห่างจากญี่ปุ่นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ​ ส่งผลต่อญี่ปุ่นน้อยลง
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 9 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:45 เรดาร์ TMD แสดงกลุ่มฝนที่ตกใน จ.อุบลราชธานี เวลานี้
  • 22:00 ไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” หรือพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม 60 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa เคลื่อนออกห่างจากญี่ปุ่นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ​
  • 17:45 แผนที่น้ำท่วมจาก GISDA แสดงบริเวณที่ยังมีน้ำท่วมอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเวลานี้
  • 09:00 ความเสียหายจากไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” หรือพายุหมายเลข 15 ของญี่ปุ่นใน จ.ชิบะ via 
  • 08:30 ภาพดาวเทียมแสดงลักษณะและตำแหน่งของไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” หรือพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่นที่กำลังเคลื่อนออกห่างจากญี่ปุ่นหลังขึ้นฝั่งภูมิภาคคันโตเมื่อกลางดึกต่อเนื่องเช้าตรู่ที่ผ่านมา
  • 08:00 ไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” หรือพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม 75 น็อต ความกดอากาศ 965 hPa เคลื่อนจากฝั่งภูมิภาคคันโตลงสู่ทะเล กำลังจะเคลื่อนออกห่างจากญี่ปุ่นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ​
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 07:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W ทางตะวันออกของทะเลฟิลิปินส์ มีความเร็วลม 20 น็อต พิกัดล่าสุดที่ 12.1°N 139.7°E มีโอกาสทวีกำลังเป็นพายุเคลื่อนไปทางไต้หวัน-ญี่ปุ่น
  • 00:00 ไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” หรือพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม 50 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa เคลื่อนตัวเข้าประชิดฝั่งภูมิภาคคันโต กำลังจะเคลื่อนขึ้นฝั่งในชั่วโมงต่อไป
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 8 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 ยอดผู้เสียชีวิตจากเฮอริเคน “ดอเรียน” ที่พัดถล่มเกาะเกรท อาบาโก้ ด้วยความรุนแรงระดับ 5 ซึ่งถือเป็นเฮอริเคนรุนแรงที่สุดที่พัดถล่มบาฮามาส  เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน เพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อย 50+ ราย [ข่าว VOA
  • 07:30 บ้านเรือนในชุมชนท่าบ้งมั่งและเกตุแก้ว กว่า 500 ครัวเรือน ถูกน้ำท่วมสูง น้ำเข้าถึงชั้น 2 ของบ้าน แนวโน้มน้ำมูลยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ระดับน้ำล้นตลิ่งอยู่ที่ 2.65 เมตร กระทบศาสนาสถานที่อยู่ริมแม่น้ำมูล 3 แห่ง ใน อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี  เครดิต ข่าวไทยพีบีเอส 
  • 07:00 พายุ “เหล่งเหลง” สลายตัวแล้วในเขตมณฑลเฮย์หลงเจียงของจีน
  • 07:00 ภาพดาวเทียมเวลานี้ของพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 31.2°N 139.7°E ความเร็วลม กศก. 148 กม./ชม คาดว่าจะขึ้นฝั่งภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่นคืนนี้ต่อเนื่องเช้าวันพรุ่งนี้
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 05:42 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก ​10 กม. พิกัด​ 104.95°E  29.65°N มณฑล​เสฉวน​ ประเทศ​จีน
  • 05:05 สะพาน พนา-ม่วง ระหว่าง บ้านหนองช้างใหญ่-บ้านศรีคูณ บ้านหนองช้างใหญ่ จ.อุบลฯ จะข้ามไปบ้านศรีคูณ จ.อำนาจเจริญ ถูกน้ำเซาะขาด Cr.วารินชำราบบ้านเฮา อุบลราชธานี
  • 04:00 ศูนย์กลางพายุไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” เวลานี้อยู่ที่พิกัด N45°40′ E129°35′ มณฑลเฮย์หลงเจียง ประเทศจีน ความเร็วลม 40 น็อต แนวโน้มอ่อนกำลังลงต่อเนื่อง เคลื่อนไปทางรัสเซีย
  • 01:00 ดีเปรสชัน “อโกนี” ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก สลายตัวแล้ว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 7 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 22;00 ศูนย์กลางพายุไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” เคลื่อนตัวออกจากคาบสมุทรเกาหลี เวลานี้อยู่ที่พิกัด N42°05′ E126°40′ ในมณฑลจี๋หลินของจีน มีสภาพเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง ความเร็วลม กศก.50 น็อต แนวโน้มอ่อนกำลังลงอย่างต่อเนื่อง เคลื่อนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสูเขตประเทศรัสเซีย
  • 22:00 พายุเฮอริเคนระดับ 1 “ดอเรียน” เคลื่อนตัวเข้าใกล้รัฐโนวาสโกเชียของแคนาดา ความเร็วลม กศก 138 กม/ชม แนวโน้มอ่อนกำลังลงอยา่งต่อเนื่อง
  • 22:00 มีพายุหมุนเขตร้อน 6 ลูกในโลกเวลานี้ ได้แก่เฮอริเคนระดับ 1 “ดอเรียน” และพายุโซนร้อน “กาเบรียล” ในแอตแลนติก พายุโวนร้อน “จูเลียต” และดีเปรสชัน “อโกนี” ในแปซิฟิกตะวันออก ไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” ในจีน และไต้ฝุ่น “ฟ้าใส” ในแปซิฟิกตะวันตก via TSR
  • 13:00 พายุไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” ขึ้นฝั่งที่เกาหลีเหนือแล้ว ล่าสุดมีศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N37°57′ E125°20′ ความเร็วลม 130 กม./ชม. ความกดอากาศ 970 hPa แนวโน้มอ่อนกำลังลง
  • 09:00 ระดับน้ำเก็บกักของเขื่อนสิรินธร เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ล่าสุดอยู่ที่ 94.13% (ดูเส้นสีแดงในกราฟ)
  • 08:00 เขื่อนที่มีปริมาณ “น้ำใช้การได้” น้อยระดับวิกฤต และเขื่อนที่มีปริมาณ “น้ำเก็บกัก” มากระดับวิกฤต เวลานี้
  • 07:00 พายุไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” ล่าสุดมีศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N35°50′ E125°05′ ในทะเลเหลือง ความเร็วลม 130 กม./ชม. ความกดอากาศ 970 hPa คาดว่าจะเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งคาบสมุทรเกาหลีในวันนี้
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 พายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือ พายุโซนร้อน “ฟ้าใส” ในแปซิฟิกตะวันตก กลายเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้วในเวลานี้ พิกัดล่าสุดอยู่ที่ N26°10′ E145°35′ ความเร็วลม กศก. 130 กม./ชม กำลังมุ่งหน้าไปขึ้นฝั่งภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น
  • 01:00 พายุเฮอริเคนระดับ 1 “ดอเรียน” เคลื่อนห่างชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐฯออกมาเล็กน้อย คามเร็วลม กศก 148 กม/ชม ยังคงมุ่งหน้าขึ้นเหนือ แนวโน้มจะขึ้นฝั่งรัฐโนวาสโกเชียของแคนาดาต่อไป
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 6 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุหมายเลข 13 หรือ ไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” เคลื่อนเข้าใกล้เกาะเชจู ของงเกาหลี ศูนย์กลางพายุเวลานี้อยู่ที่พิกัด N32°35′ E125°10′ ความเร็วลม 157 กม./ชม คาดว่าจะขึ้นฝั่งคาบสมุทรเกาหลีวันพรุ่งนี้
  • 17:09 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.8 ลึก​ 102 กม. พิกัด​ 94.70°E  21.19°N ประเทศ​พม่า
  • 17:00  เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี มีปริมาตรเก็บกัก 94% ยังคงมีน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน “เฟอร์แนน” บนฝั่งประเทศแม็กซิโกสลายตัวแล้ว โลกยังคงมีพายุหมุนเขตร้อน 6 ลูกได้แก่เฮอริเคนระดับ 1 “ดอเรียน” และพายุโซนร้อน “กาเบรียล” ในแอตแลนติก
    เฮอริเคน “จูเลียต” และดีเปรสชัน 12E ที่กลายเป็นพายุโซนร้อน Akoni ในแปซิฟิกตะวันออก
    ไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” และพายุโซนร้อน “ฟ้าใส” ในแปซิฟิกตะวันตก via TSR
  • 09:00 ถ.เดชอุดม-บุณฑริก จ.อุบลราชธานี จากหน้าวัดป่าชัยมงคล ถึง แยกหนองยาว มีน้ำท่วมสูง รถเล็กผ่านไม่ได้ ผู้ใช้เส้นทางโปรดระมัดระวัง Cr. เทศบาลเมืองเดชอุดม
  • 08:30 มีเขื่อนปริมาณน้ำเก็บกัก (รนก.) มากวิกฤต 1 แห่ง คือเขื่อนสิรินธรในจังหวัดอุบลราชธานี ที่รองรับน้ำที่มาจากแม่น้ำมูลและชีจากน้ำที่ท่วมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนเขื่อนปริมาณใช้การได้ น้อยวิกฤต ยังมีหลายเขื่อน
  • 08:26 CCTV แม่น้ำยม บริเวณสะพานพระแม่ย่า ต.ธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย เช้านี้ ระดับน้ำลดลงจากเมื่อวานแล้ว แต่ยังล้นตลิ่งอยู่
  • 08:00 พายุเฮอริเคนระดับ 2 “ดอเรียน” อยู่ในทะเลนอกชายฝั่งเมืองจอร์จทาวน์ รัฐเซาท์แคโรไลนา สหรัฐฯ กำลังมุ่งเลียบชายฝั่งขึ้นทางเหนือ ขณะที่พายุโซนร้อนแกเบรียลในแอตแลนติกไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง ส่วนพายุดีเปรสชัน “เฟอร์แนน” บนฝั่งประเทศแม็กซิโกกำลังจะสลายตัว
  • 07:30 ภาพดาวเทียมแสดงลักษณะพายุไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” หรือ พายุหมายเลข 13 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ล่าสุดมีความเร็วลม กศก. ราว 222 กม/ชม. เทียบเท่าระดับ 4 ตามมาตราเฮอร์ริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน  อยู่ในทะเลจีนตะวันออก กำลังมุ่งหน้าไปทางคาบสมุทรเกาหลี
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • อัพเดทล่าสุดมีผู้เสียชีวิต 30 ราย บ้านเรือนเสียหายราว 13,000 หลังคาเรือนในบาฮามาส จากอิทธิพลพายุเฮอริเคน “ดอเรียน”
  • แขวงสาละวัร อพยพประชาชนเมืองคงเซโดน 4 หมื่นคน เพราะน้ำท่วม 68 หมู่บ้าน via 
  • จากพายุ “พอดึล” ที่เข้าไทย ทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําป่าไหลหลาก ดินสไลด์ ในพื้นที่ 32 จ. (อํานาจเจริญ กระบี่ ปราจีนบุรี แพร่ นครพนม เชียงใหม่ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี ระนอง เพชรบูรณ์ มหาสารคาม ขอนแก่น หนองบัวลําภู ยโสธร กาฬสินธุ์ น่าน ตราด มุกดาหาร อุตรดิตถ์ ชัยภูมิ สุรินทร์ พิษณุโลก พิจิตร แม่ฮ่องสอน ชุมพร อุดรธานี สระแก้ว ลําปาง เลย สุโขทัย ศรีสะเกษ สกลนคร) บ้านเรือนประชาชนได้รับผลกระทบ 332,328 ครัวเรือน และได้รับความเสียหายบางส่วน 3,818 หลัง มีผู้เสียชีวิต 23 ราย (อํานาจเจริญ 4 ราย ร้อยเอ็ด 4 ราย ขอนแก่น 3 ราย พิจิตร 2 ราย อุบลราชธานี 1 ราย พิษณุโลก 1 ราย มุกดาหาร 1 ราย สกลนคร 1 ราย ยโสธร 6 ราย) สูญหาย 1ราย (น่าน) ผู้บาดเจ็บ 1 ราย (ชัยภูมิ)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 5 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 ไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” หรือ พายุหมายเลข 13 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม 167 กม/ชม พิกัดล่าสุดอยู่ที่ N25°40′ E125°10′ กำลังมุ่งไปทางทะเลจีนตะวันออก ตรงไปทางเกาหลี
  • 17:41 ภาพถ่ายดาวเทียม Cosmo-skymed- 4 ของวันที่ 5 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17:41 จาก GISDA แสดงน้ำท่วม (สีฟ้า) ในบริเวณบางส่วนของจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร และมุกดาหาร รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 347,720 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย
  • 16:50 กลุ่มฝนเคลื่อนตัวเข้ามาตกในภาคกลางตอนล่าง
  • 16:00 พายุเฮริเคน “ดอเรียน” ทางชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐฯ ความเร็วลมล่าสุด 185 กม/ชม. เส้นทางยังมีแนวโน้มเคลื่อนเลียบชายฝั่งขึ้นไปทางแคนาดา 
  • 16:00 พายุดีเปรสชัน 14W ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก หรือพายุหมายเลข 15 ตามวิธีเรียกของญี่ปุ่น ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า “ฟ้าใส” ຟ້າໃສ ตั้งโดย สปป.ลาว  เป็นชือผู้หญิง พิกัดล่าสุดอยู่ที่ N20°00′ E155°05′ ความเร็วลม 35 น็อต เส้นทางมุ่งไปขึ้นฝั่งฮอกไกโดของญี่ปุ่น
  • 13:00 พายุโซนร้อน “เฟอแนน” Farnanand ขึ้นฝั่งประเทศเม็กซิโกแล้ว ล่าสุดอ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชัน แนวโน้มสลายตัวในไม่กี่ชั่วโมงจากนี้
  • 10:00 สภาพน้ำท่วมสนามกีฬาแขวงจำปาสัก ที่นครปากเซ สปป.ลาว via 
  • 10:00 เรดาร์ TMD แสดงกลุ่มฝนที่ตกใน จ.นครพนม สกลนคร เวลานี้
  • 09:00 เช้านี้ น้ำล้นตลิ่งในลุ่มน้ำมูลล่าง-ชีล่าง E20A อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร E98 อ.เขื่องใน จ.อุบลฯ M182 อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ M7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อ.เมือง จ.อุบลฯ 
  • 08:30 โครงการส่งน้ำและบำรุงเพชรบุรี ปิดการจราจรเส้นที่จะเข้าไปยังโครงการฯ ทางด้านติดคลองสายสอง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี เนื่องจากคอสะพานข้ามคลองสายสามที่จะเชื่อมไปยัง อ.ท่ายาง ขาดเป็นทางยาวระยะประมาณ 5 เมตร ซึ่งตอนนี้เกรงว่ารอยร้าวของสะพานอาจจะขยายตัวออกไปอีก via ห้อง 61 ปภ.
  • 08:05 CCTV แม่น้ำยม บริเวณสะพานพระแม่ย่า ต.ธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย น้ำยังล้นตลิ่ง เศษไม้ติดเต็มสะพาน
  • 07:00 หลังการสลายตัวของดีเปรสชัน “คาจิกิ” โลกยังคงมีพายุหมุนเขตร้อน 7 ลูกได้แก่เฮอริเคน “ดอเรียน” ดีเปรสชัน “เฟอร์แนน” พายุโซนร้อน “กาเบรียล” ในแอตแลนติก เฮอริเคน “จูเลียต” ดีเปรสชัน 12E ในแปซิฟิกตะวันออก ไต้ฝุ่น “เหล่งเหลง” ดีเปรสชัน 14W ในแปซิฟิกตะวันตก via TSR
  • 07:00 ศูนย์กลางหย่อมความกดอากาศต่ำหลังการสลายตัวของดีเปรสชัน “คาจิกิ” อยู่ที่ 17.8°N 110.3°E ริมฝั่งเกาะไหหลำ ความเร็วลม 15 น็อต ความกดอากาศ 1010 hPa
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 14 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00 น้ำท่วมโคโลราโด ล่าสุดยอดตายอยู่ที่ 4 ราย
  • 13:00 มีการปล่อยข่าวเรื่องดีเปรสชันอุซางิ ทั้งที่ยังไม่มีการก่อตัวใดๆ นอกจาก LPA ที่เคลื่อนตะวันตกในภาพจาก JMA (วงกลมแดง)13091415
  • 10:00 ทิศทางพายุมานหยี่ กำลงเคลื่อนเข้าไปที่เกาะใต้ของญี่ปุ่น ไม่ส่งผลกับไทยตามข่าวลือ 
  • 08:30 สภาพน้ำท่วมทางหลวง I-25 ทางใต้ของฟอร์ท คอลลีนส์ รัฐโคโลราโด 
  • 08:00 พายุหมุนเขตร้อนทั้ง 5 ลูกทั่วโลกเวลานี้ มานหยี่ทางใต้ของญี่ปุ่น ฮัมเบอโตและกราเบรียลในแอตแลนติก มานูเอลและอินกริด ใกล้เม็กซิโก TSR-20130914-0800

[stextbox id=”info”]มีรายงานวิเคราะห์ต้นเหตุน้ำท่วมใหญ่โคโลราโด ตาม ลิงค์ นี้[/stextbox]

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 11:07 แผ่นดินไหวขนาด 3.2 อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย (20.21,99.75)
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เกาะโคดิแอค อลาสกา ที่ความลึก 11.30 กม.
  • เมื่อ 23.34 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 48.00 กม.
  • เมื่อ 23.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 44.70 กม.
  • เมื่อ 23.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 19.00 กม.
  • เมื่อ 23.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 109.00 กม
  • เมื่อ 22.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 46.00 กม.
  • เมื่อ 22.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 72.00 กม.
  • เมื่อ 22.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.8 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 24.90 กม.
  • เมื่อ 22.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 24.00 กม.
  • เมื่อ 22.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 32.00 กม.
  • เมื่อ 22.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 39.00 กม.
  • เมื่อ 21.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 62.00 กม.
  • เมื่อ 21.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 45.00 กม.
  • เมื่อ 21.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 48.00 กม.
  • เมื่อ 21.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 24.00 กม.
  • เมื่อ 21.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 56.00 กม.
  • เมื่อ 21.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 50.00 กม.
  • เมื่อ 21.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 67.00 กม.
  • เมื่อ 21.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 50.00 กม.
  • เมื่อ 21.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 55.00 กม.
  • เมื่อ 21.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 64.00 กม.
  • เมื่อ 21.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 49.00 กม.
  • เมื่อ 21.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 42.00 กม.
  • เมื่อ 21.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 35.00 กม
  • เมื่อ 21.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 57.00 กม.
  • เมื่อ 21.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.5 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 58.00 กม.
  • เมื่อ 21.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 39.00 กม.
  • เมื่อ 19.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 50.10 กม.
  • เมื่อ 19.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Catamarca ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 127.70 กม.
  • เมื่อ 19.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 29.20 กม.
  • เมื่อ 17.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 12.40 กม.
  • เมื่อ 17.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Azerbaijan ที่ความลึก 20.10 กม.
  • เมื่อ 17.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 33.00 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 19.00 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทะเลโมลุกกะ ที่ความลึก 67.00 กม.
  • เมื่อ 16.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 23.00 กม.
  • เมื่อ 16.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ คาบสมุทรอลาสกา ที่ความลึก 60.60 กม.
  • เมื่อ 15.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 32.20 กม.
  • เมื่อ 13.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ นอกชายฝั่ง เมืองบีโอ-บีโอ ประเทศชิลี ที่ความลึก 18.40 กม.
  • เมื่อ 12.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 29.30 กม.
  • เมื่อ 12.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ เกาะฮัลมาเฮรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 55.90 กม.
  • เมื่อ 10.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ นอกชายฝั่ง ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 19.50 กม.
  • เมื่อ 07.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 23.20 กม.
  • เมื่อ 03.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ State Yap Federated States of Micronesia ที่ความลึก 54.30 กม.
  • เมื่อ 02.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ Bouvet Island ที่ความลึก 14.80 กม.
  • เมื่อ 02.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ Greater Los Angeles area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.50 กม.
  • เมื่อ 02.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 16.10 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 พบการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน 13E ทางตะวันตกของเม็กซิโก ทำให้โลกเรานาทีนี้ มีพายุหมุนเขตร้อนรวม 5 ลูกด้วยกัน 
  • 21:00 พายุดีเปรสชัน 10L ในอ่าวเม็กซิโก ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า อินกริด Ingrid 
  • 18:00 ขณะนี้โลกมีพายุหมุนเขตร้อน 4 ลูกคือ 10L ในอ่าวเม็กซิโก แกเบรียล และ ฮัมเบอโตในแอตแลนติก และมานหยี่ทางใต้ของญี่ปุ่น TSR-20130913-1800
  • 14:00 ภาพถ่ายทางอากาศ ถนนสาย 34 ที่ผ่านเทือกเขาบิ็กทอมสันในโคโลราโด โดนน้ำจากแม่น้ำชื่อเดียวกันตัดขาด 
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน มานหยี่  ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 35 น็อต
  • 11:00 น้ำท่วมใหญ่ในรัฐโคโลราโด ยังไม่ทราบยอดผู้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ
  • 10:30 พบการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน 10L ในอ่าวเม็กซิโก พายุมีแนวโน้มจะขึ้นฝั่งใกล้เมืองเวราคุซ 201310N
  • 10:00 TSR ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน มานหยี่ (16W) ทางตะวันตกของแปซิฟิค (ก่อตัวจาก LPA97W) ทิศทางมุ่งญี่ปุ่น 201316W
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้  ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 22.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 36.00 กม.
  • เมื่อ 19.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 9.00 กม.
  • เมื่อ 19.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 11.60 กม.
  • เมื่อ 18.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 1.10 กม.
  • เมื่อ 17.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ Valparaiso ประเทศชิลี ที่ความลึก 79.80 กม.
  • เมื่อ 16.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.00 กม.
  • เมื่อ 16.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่เกาะฟิจิ ที่ความลึก 527.10 กม.
  • เมื่อ 14.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Chihuahua ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 10.10 กม.
  • เมื่อ 14.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Bougainville ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 37.10 กม.
  • เมื่อ 14.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 16.80 กม.
  • เมื่อ 12.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ Mona Passage เปอร์โตริโก ที่ความลึก 11.00 กม.
  • เมื่อ 12.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Long Valley area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 8.20 กม.
  • เมื่อ 11.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Kepulauan Obi ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 11.20 กม.
  • เมื่อ 10.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 584.30 กม.
  • เมื่อ 10.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Arkansas ที่ความลึก 5.70 กม.
  • เมื่อ 10.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 50.00 กม.
  • เมื่อ 09.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 25.00 กม.
  • เมื่อ 08.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 118.00 กม.
  • เมื่อ 08.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.00 กม.
  • เมื่อ 07.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ รัฐฮาวาย ที่ความลึก 2.80 กม.
  • เมื่อ 07.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 70.00 กม.
  • เมื่อ 07.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ ทางตะวันตกของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 07.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 36.00 กม.
  • เมื่อ 07.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 06.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 41.00 กม.
  • เมื่อ 04.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 0.30 กม.
  • เมื่อ 04.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ ช่องแคบซุนดา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 138.00 กม.
  • เมื่อ 02.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 48.30 กม.
  • เมื่อ 02.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 12.70 กม.
  • เมื่อ 00.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 66.00 กม.