รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 20 พฦษภาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:45 ฝนตกปรอยๆ เขตบางบอน บางขุนเทียน
  • 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5  บริเวณ นอกชายฝั่งตะวันตก ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม. ทาง PTWC ไม่เตือนสึนามิ ตามเอกสารนี้  (Geofon วัดได้ Mw6.2) เป็นการเคลื่อนตัวแบบ Transform Mo=2.6 x 1018gfz2013jusj
  • ตำแหน่งล่าสุดเวลานี้ของดาวหาง ISON ยังไม่เลยวงโคจรดาวอังคารเข้ามา 
  • ขนาดของน้ำแข็งขั้วโลกล่าสุด น่าแปลกที่ขั้วโลกเหนือหดเล็กลงตามที่รู้กันดีจากที่ออกข่าวเรื่องภาวะโลกร้อนแต่..น้ำแข็งขั้วโลกใต้กลับขยายใหญ่ขึ้น คำถามคือ ทำไม?
  • สภาพความเสียหายบางส่วนในเมืองคาร์เนย์ รัฐโอกลลาโอมา หนึ่งในหลายจุดที่โดนทอร์นาโดถล่มวานนี้ ภาพโดย Jessica Schambach 
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 21.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Minahasa เกาะสุลาเวสี, ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 209.60 กม.
  • เมื่อ 21.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 83.60 กม.
  • เมื่อ 21.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 45.00 กม.
  • เมื่อ 20.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 52.80 กม.
  • เมื่อ 19.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 30.50 กม.
  • เมื่อ 17.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.80 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.80 กม.
  • เมื่อ 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 6.5 บริเวณ นอกชายฝั่งของ Aisen ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 15.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 6.70 กม.
  • เมื่อ 14.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 120.90 กม.
  • เมื่อ 14.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 24.80 กม.
  • เมื่อ 13.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 40.00 กม.
  • เมื่อ 10.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 49.00 กม.
  • เมื่อ 10.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 15.10 กม.
  • เมื่อ 08.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 4.50 กม.
  • เมื่อ 08.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 42.60 กม.
  • เมื่อ 07.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 28.00 กม.
  • เมื่อ 07.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 30.20 กม.
  • เมื่อ 07.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 110.70 กม.
  • เมื่อ 07.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 33.20 กม.
  • เมื่อ 07.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 60.10 กม.
  • เมื่อ 07.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 43.00 กม.
  • เมื่อ 06.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 58.80 กม.
  • เมื่อ 06.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 49.70 กม.
  • เมื่อ 06.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 70.20 กม.
  • เมื่อ 06.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 78.20 กม.
  • เมื่อ 05.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40.10 กม.
  • เมื่อ 05.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 05.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 04.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 13.00 กม.
  • เมื่อ 04.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 04.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 15.00 กม.
  • เมื่อ 04.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 58.00 กม.
  • เมื่อ 04.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.30 กม.
  • เมื่อ 03.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 341.30 กม.
  • เมื่อ 03.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.70 กม.
  • เมื่อ 03.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 86.20 กม.
  • เมื่อ 03.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 11.30 กม.
  • เมื่อ 02.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 92.70 กม.
  • เมื่อ 02.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 54.10 กม.
  • เมื่อ 02.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 52.50 กม.
  • เมื่อ 02.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 48.60 กม.
  • เมื่อ 02.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 54.30 กม.
  • เมื่อ 02.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 23.00 กม.
  • เมื่อ 01.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 19.10 กม.
  • เมื่อ 01.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 44.10 กม.
  • เมื่อ 01.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 53.80 กม.
  • เมื่อ 01.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 00.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 59.70 กม.
  • เมื่อ 00.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40.30 กม.

อังคาร 12 มิถุนายน 2555

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 สภาพระดับน้ำที่สถานีวัดน้ำ X.37A บ้านย่านดินแดง อ.พระแสง จ.สุราษฏ์ธานี (สีฟ้า) ที่ระดับ 10:56 เมตร วันที่ 11 มิถุนายน เทียบกับปี 2554 (สีม่วง) ซึ่งมีระดับสูงสุดในวันที่ 31 มีนาคม ที่ 13.56 เมตร
  • 17:30 พายุโซนร้อน TS05W ทวีกำลังถึงจุดที่จะได้รับการตั้งชื่อแล้วว่า พายุโซนร้อน กูโชล หรือ Guchol แปลว่า “ขมิ้น” เป็นภาษาพื้นเมืองของเกาะแถบไมโครนีเชีย ทิศทางตัวพายุยังคงเคลื่อนเข้าหาประเทศฟิลิปปินส์ มีแนวโน้มจะทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น
  • 13:59 ระดับน้ำสถานีบางบาล C35 
  • 13:57 ระดับน้ำสถานีป่าสัก S5
  • 13:49 ระดับน้ำสถานี C2
  • 12:30 พายุดีเปรสชัน 05W ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อนแล้วในขณะนี้ 
  • 05:00 พบการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 05W ในมหาสมทุรแปซิฟิคตอนใต้ กำลังเคลื่อนที่ มุ่งเข้าหาประเทศฟิลิปปินส์ 
  • เกิดการปะทุของจุดดับหมายเลข 1504 บนดวงอาทิตย์ ส่งผลให้สนามแม่เหล็กโลกกลายเป็นพายุแม่เหล็กที่ระดับ G1 
  • ดาวเคราะห์น้อย (2012 LT) กำลังเข้าใกล้โลกในระยะห่าง 5.2 เท่าของดวงจันทร์ ด้วยขนาดราว 28 เมตร ความเร็ว 8.13 กม./วินาที พลังงาน 258 กิโลตัน
  • สุโขทัย -ผู้ว่าฯได้ประกาศเขตภัยพิบัติจากอุทกภัยใน 2 อำเภอ คือ อ.เมือง ซึ่งได้รับผลกระทบจากระดับน้ำแม่น้ำยมเอ่อล้นท่วมใน 3 ตำบล 11 หมู่บ้าน และ อ.กงไกรลาศ ซึ่งได้รับผลกระทบจากระดับน้ำแม่น้ำยมเอ่อล้นท่วมใน 6 ตำบล 36 หมู่บ้านเช่นเดียวกัน โดยปริมาณน้ำจากทางตอนเหนือที่ จ.แพร่ ได้ไหลบ่าลงมาจนส่งผลกระทบให้ระดับน้ำในแม่น้ำยมในพื้นที่ จ.สุโขทัย เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและได้กัดเซาะถนนเลียบแม่น้ำรวมทั้งคันตลิ่งกั้นน้ำหลายจุดในพื้นที่อำเภอเมือง ตั้งแต่ ต.ปากแคว เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี , ต.ยางซ้าย ,ต.ปากพระ
    แต่ที่ได้รับผลกระทบอย่างหนักคือ หมู่ที่ 5 บ้านวังโพธิ์ ต.ยางซ้าย และ หมู่ที่ 2 บ้านลัดทรายมูล ต.ลัดทรายมูล ต.ปากพระ อ.เมืองสุโขทัย  [เนชั่น]

ช่วยปลอดประสบ นับไต้ฝุ่น ว่าปีนี้ 2555 จะถึง 27 ลูกไหม

ตามข่าว 13 ก.พ. 2555 ปลอดประสบ สุรัสวดี รมว.วิทยาศาสตร์  บอกจะมีพายุไต้ฝุ่นปีนี้ 27 ลูก โซนร้อน 3-4 ลูก วันต่อมา แก้ข่าว ว่าไต้ฝุ่นเข้าไทย 1 ลูก อย่างไรก็ตาม ทางเว็บเราจะนับยอดให้ จะได้ไม่พลาด มาดุกันว่า รมว.วิทยาศาสตร์  แห่งกรุงสยาม ท่านเก่งขนาดไหน

(เนื้อข่าวหาอ่านได้จาก คมชัดลึก กรมประชาสัมพันธ์เขต 4 เรื่องเล่าเช้านี้ )

  1. ดีเปรสชัน TD00W เกิด 13-14 มกราคม บริเวณสิงค์โปร์ 
  2. ดีเปรสชัน TD01W 55 กม./ชม. เกิด 17-21 กุมภาพันธ์ ตาย 4 
  3. ไต้ฝุ่นปาข่า TY02W 95 กม./ชม. 24 มีนาคม – 4 เมษายน ตาย 4 
  4. พายุไต้ฝุ่นซันหวู่ (หินประการัง) TY03W 21 – 27 พฤษภาคม 55
  5. พายุไต้ฝุ่นมาวาร์ (ดอกกุหลาบ) TY04W ก่อตัว 31 พฤษภาคม-8 มิถุนายน 55
  6. พายุไต้ฝุ่นกูโชล (ขมิ้น) TY05W ก่อตัว 14-20 มิถุนายน 55
  7. พายุโซนร้อนตาลิม (คมมีด) TS06W ก่อตัว 18-22 มิถุนายน 55
  8. พายุดีเปรสชันทกซุริ (นกอินทรี) TD07W หรือ Doksuri ก่อตัว 26 มิถุนายน 55
  9. พายุโซนร้อนขนุน  TS08W  ก่อตัว 15-20 กรกฏาคม  55 สลายตัวเมื่อผ่านเกาหลี
  10. พายุไต้ฝุ่นวิเซนเต้ TY09W ก่อตัว 21-25 กรกฏาคม  55 สลายตัวเมื่อผ่านฮ่องกง
  11. พายุไต้ฝุ่นซาวลา TY10W ก่อตัว 28 กรกฏาคม – 3 สิงหาคม  55
  12. พายุไต้ฝุ่นดอมเรย TY11W ก่อตัว 28 กรกฏาคม – 3 สิงหาคม  55
  13. พายุไต้ฝุ่นไห่คุ้ย TY12W ก่อตัว 2-9 สิงหาคม  55
  14. พายุโซนร้อนไคโรจิ TS13W ก่อตัว 5-11 สิงหาคม  55
  15. พายุไต้ฝุ่นไคตั๊ก TY14W เกิด 12 สิงหาคม  55 บริเวณทางตะวันออกของเกาะลูซอน
  16. พายุไต้ฝุ่นเทมบิง  TY15W เกิด 18-31 สิงหาคม  55 บริเวณทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน
  17. พายุไต้ฝุ่นบ่อละเวน TY16W เกิด 20-30 สิงหาคม  55 บริเวณทางตะวันออกของเกาะลูซอน
  18. พายุไต้ฝุ่นซัมปา TY17W ก่อตัว 11-18 กันยายน  55
  19. พายุซุปเปอร์ไต้ฝุ่นเจอลาวัต STY18W ก่อตัว 20 กันยายน 55
  20. พายุโซนร้อนเอวิเนียร์ ก่อตัว 24 กันยายน 55
  21. พายุโซนร้อนมาลิกซี TS20W ก่อตัว 28 กันยายน – 5 ตุลาคม 55
  22. พายุโซนร้อนแคมี TS21W Gaemi 30 กันยายน – 7 ตุลาคม 55
  23. พายุไต้ฝุ่นพระพิรุณ TY22W
  24. พายุดีเปรสชัน TD23W  ก่อตัว 14 ตุลาคม 55
  25. พายุดีไต้ฝุ่นเซินติญ TY24W  ก่อตัว  22 ตุลาคม 55
  26. พายุดีเปรสชัน TD25W  ก่อตัว 14 พฤศจิกายน 55
  27. พายุซุปเปอร์ไต้ฝุ่นโบพา STY26W ก่อตัว 26 พฤศจิกายน – 9 ธันวาคม 2555
  28. พายุไต้ฝุ่นหวู่คง TY27W  ก่อตัว 24 ธันวาคม  2555 
ฤดูพายุปี 2555 นับถึงขณะนี้ ยอดรวม ดีเปรสชัน 5 ลูก โซนร้อน 6 ลูก ไต้ฝุ่น 17 ลูก รวมทุกชนิด 28 ลูก

สัญญาณเตือนภัยน้ำท่วมไทย จากค่า SOI

กราฟแสดงค่า SOI จากปี 2552 ถึงเดือนมกราคมปี 2555

ค่า Southern Oscillation Index เป็นดัชนีที่คำนวนจากค่าความกดอากาศที่แตกต่างกันระวห่างจุด 2 จุดในมหาสมุทรแปซิฟิคใต้ คือเกาะตาฮิติ ที่กลางมหาสมุทรและเกาะดาร์วินที่ชายฝั่งอเมริกาใต้ ในปี 2553 จะพบความเปลี่ยนแปลงกระทันหันจากความแล้งตอนต้นปีที่แล้งจนแม่น้ำโขงบางจุดแห้งจนเดินข้ามด้วยเท้าได้ อยู่ๆก็เกิดฝนตกมหาศาลจนน้ำท่วมที่ราบสูงทางอีสานหลายจังหวัดแม้กระทั่งโคราช เหตุการณ์นี้ก็มาเกิดในปี 54 ที่มีผลพวงจากความผิดพลาดในการประมาณการน้ำในเขื่อนผสมด้วยจนเกิดมหาอุทกภัยขึ้น จะเห็นได้ว่าค่าความชันของ SOI ที่มากกว่า 8 ติดกัน 2 เดือนเป็นสัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง

คลื่นสึนามิยักษ์ที่อ่าวไลทูยา เมื่อปี 2501

คลื่นสึนามิยักษ์ ใหญ่ที่สุดในโลก ขนาดสูงกว่าตึกเอ็มไร์เสตท เกิดขึ้นในวันที่ 9 กรกฏาคม 2501 ที่อ่าวไลทูยา รัฐอลาสกา สหรัฐอเมริกา


ภาพอนิเมชันแสดงลักษณะการเกิดหินถล่มและสึนามิ
ต้นเหตุของคลื่นมหายักษ์ครั้งนี้ เกิดจากแผ่นดินไหวทำให้หน้าผาหินขนาดใหญ่ด้านก้นอ่าว ทำให้หินปริมาตรมากกว่า 60 ล้านลูกบาศเมตร น้ำหนักหลายล้านตันถล่มลงในน้ำที่ก้นอ่าว ก่อให้เกิดคลื่นมหายักษ์ ยอดคลื่นสูงถึง 524 เมตร กวาดต้นไม้บนยอดเขาริมหน้าผาฝั่งตรงข้าม ที่มีระดับหน้าผาสูงจากน้ำทะเลถึง 520 เมตรจนหมดสิ้น
ภาพเปรียบเทียบขนาดคลื่นสึนามิยักษ์ในครั้งนั้น
คลื่นมหายักษ์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วกว่า 600 ไมล์ต่อชั่วโมง เคลื่อนที่ออกจากจุดที่หินถล่มกวาดทุกสิ่งทุกอย่างตลอดแนวอ่าวตรงสู่ปากอ่าว ในขณะนี้ มีเรือประมงสามลำอยู่บิรเวณนั้น เรือลำแรกล่มลงพร้อมผู้เสียชีวิตสองราย แต่อีกสองลำกลับรอดโดยปฏิหารย์ รายชื่อลูกเรือที่รอดชีวิตในครั้งนั้นได้แก่ Adam Gray, William A. Swanson และ Howard G. Ulrich ซึ่งได้ยืนยันว่าเรือของพวกเขาได้ลอยขึ้นบนยอดคลื่นโดยไม่ได้ถูกม้วนหายไปเช่นลำแรก อย่างไรก็ตาม คลื่นมหายักษ์ครั้งนี้ ได้สลายตัวไปอย่างรวดเร็ว ประมาณเหตุการณ์ทั้งหมดเกิดและจบในเวลาเพียง 10 นาทีเท่านั้น
รูปที่ 2 จุดที่ลูกศรชี้ คือจุดหน้าผาสูง 1,720 ฟุตที่ลูกคลื่นยักษ์สูงที่สุดในโลกเข้าปะทะ โดยฝั่งตรงข้ามคือส่วนที่หน้าผาหินถล่มลงน้ำ เป็นจุกเริ่มต้นของสึนามิในครั้งนี้
การวิเคราะห์คลื่นมหายักษ์แบบละเอียด จากบทความของ George Pararas-Carayannis

ความผิดพลาดในคำทำนายเกี่ยวกับสภาพอากาศโลกของ IPCC

IPCC กับคำทำนายที่น่าตื่นตระหนกที่ได้ลงตีพิมพ์ใน นิวยอร์คไทมส์
เดือนกันยายน 1995 มีรายงานจาก นิวยอร์คไทมส์ว่า นักวิทยาศาสตร์ของ IPCC ได้มีคำพยากรณ์ถึงความเปลี่ยนแปลงอย่างใกญ่หลวงของสภาพอากาศโลกออกมา (ตอนนั้น IPCC กำลังเตรียมออกภาคประเมิณ SAR ในปี 1996)

ตาม Link ด้านล่างนี้
http://select.nytimes.com/gst/abstract.html?res=F60613FB3C5D0C7B8DDDA00894DD494D81

เรามาดูว่าอีก 15 ปีต่อมา คำพยากรณ์ของ IPCC ถูกต้องแค่ไหน

ภาพด้านล่างนี้ คือกราฟแสดงการเพิ่มอุณหภูมิโลกในช่วง 100 ปีข้างหน้า (จาก 1990-2090) โดยมีโมเดลการคำนวนค่าที่แตกต่างกันถึง 9 แบบแยกตามสีต่างๆ เกือบทุกแบบแสดงความสอดคล้องกันของการเพิ่มอุณหภูมิโลกในช่วง 100 ปีมากบ้างน้อยบ้างตามวิธีทางคณิตศาสตร์

ส่วนด้านล่างนี้ คือระดับอุณหภูมิโลกที่เกิดจริง วัดถึงเดือน พ.ค. 2011 (เก็บข้อมูล 32 ปี โดยเริ่มจาก 1979 ก่อนกราฟด้านบน 11 ปี)

เมื่อนำกราฟทั้งสองมาทับกัน จะพบความแตกต่างดังรูปด้านล่างนี้

จากที่เห็น พบว่ามีเพียงโมเดลการคำนวนแบบ MRI2 (สีบานเย็น) ที่มีค่าใกล้เคียงความจริง ที่เหลืออีก 8 โมเดล ล้วนคำนวนว่าโลกจะร้อนกว่าที่เป็น