รายงานภัยพิบัติ 1 สิงหาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 JMA หย่อมความกดอากาศ 93W ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเป็นพายุดีเปรสชัน พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 18°35’N 154.1°E ความเร็วลม 30 น็อต ค่าความกดอากาศ 1002 hPa
  • 19:00 พายุโซนร้อน “วิภา” ความเร็วลม 40 น็อต ค่าความกดอากาศ 990 hPa ขึ้นฝั่งแล้วที่ใกล้เมืองจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง  พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 21.3°N 110.2°E กำลังเคลื่อนไปลงอ่าวตังเกี๋ยในวันพรุ่งนี้
  • 15:00 เส้นทางพายุโซนร้อน “วิภา” ประเมินโดยสำนักอุตุนิยมจาก 6 ประเทศ ส่วนใหญ่มีความเห็นคล้ายกันว่าพายุจะไปขึ้นฝั่งที่มณฑลกวางตุ้ง แล้วเคลื่อนลงอ่าวตังเกี๋ยขึ้นฝั่งเวียดนามแล้วสลายตัวไป มีเพียงอุตุฮ่องกงหรือ HKO ที่เห็นว่าพายุจะมาสลายตัวในเขตลาว
  • 13:00 พายุเฮอริเคนระดับ 3 “Erick”  ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก อ่อนกำลังลงเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 1 เส้นทางวิ่งขนานไปทางตะวันตกกับพายุโซนร้อน Flossie ที่อ่อนกำลังลงมาจากเฮอริเคนเช่นเดียวกัน และมุ่งตรงไปทางเกาะฮาวาย
  • 13:00  ฝนเล็กน้อยถึงปานกลางเขตพระโขนง บางนา สวนหลวง ประเวศน์ สะพานสูง วังทองหลาง บางกะปิ บึงกุ่ม คันนายาว มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง
  • 13:00 พายุโซนร้อน “วิภา” ความเร็วลม 40 น็อต ค่าความกดอากาศ 990 hPa เลี้ยวเป็นมุมฉาก พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 21°N 110.5°E ประชิดฝั่งเมืองจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 พายุโซนร้อน “วิภา” ความเร็วลม 40 น็อต ค่าความกดอากาศ 992 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 20.2°N 110.9°E ประชิดฝั่งเกาะไหหลำ กรมอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ประเมินว่าพายุจะขึ้นฝั่งใกล้เมือง Xuwen จ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง วันนี้
  • 01:45 แผ่นดินไหวขนาด 5.1 (Mw) ลึก 10 กม.พิกัด 133.28°E 0.66°S อิริอันจายา อินโดนีเซีย
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 31 กรกฏาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุโซนร้อน “วิภา” ความเร็วลม 35 น็อต ค่าความกดอากาศ 992 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 19.6°N 117.0°E กรมอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ยังคงประเมินเส้นทางพายุว่าจะเคลื่อนเลียดฝั่งเกาะไหหลำ ไปขึ้นฝั่งใกล้เมือง Xuwen จ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง ในวันพรุ่งนี้
  • 18:00 ไฟป่าพรุควนเคร็งเข้าประชิดบ้านเรือนประชาชนใน อ.เชียรใหญ่ นครศรีขาดแคลนรถน้ำกำลังคน
  • 16:00 เส้นทางพายุโซนร้อน “วิภา” ประเมินโดยสำนักอุตุนิยมจาก 6 ประเทศ มีความเห็นคล้ายกันว่าพายุจะไปขึ้นฝั่งที่มณฑลกวางตุ้ง แล้วเคลื่อนลงอ่าวตังเกี๋ยขึ้นฝั่งเวียดนามแล้วมาสลายตัวใน สปป ลาว
  • 16:00 จังหวัดพะเยา เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าสร้างความเสียหาย ให้กับชาวบ้านในพื้นที่ตำบลนาปรัง ตำบลออย อำเภอปง   เส้นทางสายบ้านหมุ้น หมู่ 3 ตำบลนาปรัง ที่เชื่อมต่อกับเขตต้องถูกตัดขาดเมืองอำเภอปง เนื่องจากถูกกระแสน้ำตัดผ่านทำให้ไม่สามารถสัญจรได้
  • 15:30 เริ่มมีควันที่เกิดจากการเผาป่าในอินโดนีเซียเคลื่อนตามกระแสลมเข้ามาถึงมาเลเซีย
  • 13:00 พายุโซนร้อน “วิภา” ความเร็วลม 35 น็อต ค่าความกดอากาศ 992 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 19.2°N 113.0°E เคลื่อนที่ช้าลง กรมอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ยังคงประเมินเส้นทางพายุว่าจะตรงไปขึ้นฝั่งใกล้เมืองจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง ในวันพรุ่งนี้
  • 12:40 อุตุนิยม​ฮ่องกง​ออกประกาศ​สัญญาณ​เตือนหมายเลข 8 เมื่อ​แรงลมจากพายุ​โซน​ร้อน​วิภาทวีกำำ​ลัง​ขึ้น
  • 10:30 น้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมโรงเรียนบ้านวังวิทยา ต.สันมะค่า อ.ป่าแดด จ.เชียงราย และไหลหลากข้ามถนนทางหลวงหมายเลข 1126 ช่วง กม.43+050 ถึง กม.43+250 ระดับน้ำสูงประมาณ 20-30 ซม. via
  • 10:00 ที่จังหวัดพะเยา อำเภอปง เขตตำบลงิม มีน้ำป่าไหลเข้าท่วมจากฝนที่ตกหนัก
  • 09:45 ระบบแจ้งเตือนน้ำท่วม ให้อพยพจำนวน 12 หมู่บ้านในจุดเสี่ยงของจังหวัดน่านและพะเยา
  • 09:00  ที่จังหวัดน่าน มีรายงานน้ำป่าไหลลอดใต้สะพานบ้านดอนสุขสันต์ – บ้านดอนมูล อ.ปัว โพ้ดบ้านพร้าว และช่วงบ้านก๋ง ต.ยม อ.ท่าวังผา เริ่มล้นเข้าพื้นที่
  • 08:10 เรดาร์ท่าวังผาแสดงกลุ่มฝนที่ตกใน จ.น่าน เวลานี้
  • 07:00 กรมอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ยกระดับพายุดีเปรสชัน 08W ขึ้นเป็นพายุโซนร้อน เรียกว่า พายุหมายเลข 7 หรือ 1907 ได้ชื่อเรียกตาม WMO ว่า “วิภา” ชื่อนี้ตั้งโดยประเทศไทย เป็นชือผู้หญิง ความเร็วลม 35 น็อต ค่าความกดอากาศ 994 hPa เส้นทางตรงไปขึ้นฝั่งใกล้เมืองจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง ในวันพรุ่งนี้
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:00 ยอดดอยอินทนนท์ 9°C
  • 01:00 ทาง WMO ให้โค้ดเนม พายุดีเปรสชันในทะเลจีนใต้ว่า 08W ประเมินเส้นทางพายุว่าจะผ่านตอนบนของเกาะไหหลำ ช่วงกลางดึกคืนนี้ จากนั้นจะเคลื่อนตัวลงอ่าวตังเกี๋ยและเคลื่อนเข้าสู่ตอนบนของประเทศเวียดนามในลำดับต่อไป 
  • จังหวัดพะเยามีฝนตกหนักตั้งแต่เย็นวานนี้ ล่าสุดมีน้ำป่าไหลหลากในหลายจุด
  • จังหวัดน่านมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง บางอำเภอวัดได้กว่า 200 มม. ล่าสุดมีน้ำป่าไหลหลากในหลายจุด
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 30 กรกฏาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00  พายุเฮอริเคนระดับ 1 “Erick” ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ล่าสุดทวีกำลังขึ้นเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 3 เส้นทางวิ่งขนานไปทางตะวันตกกับพายุโซนร้อน Flossie ที่มีแนวโน้มจะกลายเป็นเฮอริเคนเช่นเดียวกัน และมุ่งตรงไปทางเกาะฮาวาย
  • 22:00 ศูนย์กลางพายุดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้ขยับมาที่พิกัด 18.0°N 113.9°E มุ่งไปทางมณฑลกวางตุ้ง
  • 20:45 กรมอุตุฮ่องกงขึ้นสัญญาณเตือนพายุหมายเลข 3 เมื่อดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้มีแนวโน้มขึ้นฝั่งกวางตุ้งทางทิศใต้และมีความเร็วลมอยู่ในช่วง 41-62 กม./ชม
  • 19:45 กรมอุตุฮ่องกงขึ้นสัญญาณเตือนพายุ T1 เมื่อดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้มีแนวโน้มขึ้นฝั่งกวางตุ้งทางทิศใต้
  • 18:00 ไฟป่าพรุควนเคร็งโหมหนักหลายจุดใน 4 อำเภอของนครศรีธรรมราช ที่รอยต่อ อ.ร่อนพิบูลย์ และ อ.เฉลิมพระเกียรติ หนักสุดแนวไฟยาวกว่า 2 กม. ยังควบคุมไม่ได้
  • 16:00 ทางอุตุนิยมญี่ปุ่นหรือ JMA ติดตามพายุดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้โดยพิกัดล่าสุดอยู่ที่ 17.6°N 114.3°E ความเร็วลม กศก 30 น็อต ความกดอากาศ 996hPa เคลื่อนที่ช้า แนวโน้มทวีกำลังขึ้น เส้นทางตรงไปทางมณฑลกวางตุ้ง
  • 13:00 พายุโซนร้อน  Erick ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ล่าสุดทวีกำลังขึ้นเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 1 เส้นทางวิ่งขนานไปทางตะวันตกกับพายุโซนร้อน Flossie ที่มีแนวโน้มจะกลายเป็นเฮอริเคนเช่นเดียวกัน และมุ่งตรงไปทางเกาะฮาวาย
  • 09:00 เกิดน้ำป่าไหลหลากและมีเหตุดินสไลด์ บริเวณบ้านห้วยโป่ง บ้านก่อก๋วง บ้านผักเฮือก ต.บ่อเกลือใต้ อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
  • 08:22 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (mb) ลึก​ 152 กม. พิกัด​ 98.92°E 2.52°N บนเกาะสุมาตรา
  • 07:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้เป็นพายุดีเปรสชันแล้วในเวลานี้ เส้นทางพายุมีแนวโน้มมุ่งไปทางเกาะไหหลำ
  • 07:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้ พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 17.9°N 115.7°E มุ่งไปทางเกาะไหหลำ ความเร็วลม 20 น็อต ค่าความกดอากาศ 1000 hPa มีโอกาสทวีกำลังเป็นดีเปรสชัน
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 29 กรกฏาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 พายุดีเปรสชัน 07E ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ล่าสุดทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อนแล้ว ได้ชื่อเรียกว่า Flossie เส้นทางวิ่งขนานไปทางตะวันตกกับพายุโซนร้อน Erick ทั้งคู่มีแนวโน้มจะกลายเป็นเฮอริเคน เข้าใกล้ฮาวาย
  • 15:00 พื้นที่ กทม. ฝนเล็กน้อยเขตพระโขนง บางนา ประเวศ เคลื่อนตัวทิศตะวันออกเฉียงใต้
  • 12:46 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 ลึก​ 28 กม. พิกัด​ 100.10°E  2.84°S เกาะปาไกเหนือ ทางตะวันตก​ของสุมาตรา
  • 07:00 พบการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 06E และ 07E ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ทั้ง 2 ลูกเคลื่อนไปทางตะวันตก ยังไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง โดยพายุดีเปรสชัน 06E ล่าสุดทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อนแล้ว ได้ชื่อเรียกว่า Erick
  • 07:00  กทม.มีฝนเป็นละอองบางพื้นที่
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 01:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้ ความเร็วลม 15 น็อต ค่าความกดอากาศ 116 hPa พิกัดล่าสุด 17.0°N 118.0°E หากพัฒนาเป็นพายุ มีโอกาสเคลื่อนมาทางเกาะไหหลำ อ่าวตังเกี๋ย
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 6 กรกฎาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:45 ฝนตก เขตจตุจักร
  • 23:30 พายุโซนร้อนอีริค ทวีความเร็วลมขึ้นเป็นพายุเฮอริเคน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 70 น็อต ทิศทางวิ่งเลียบฝั่งตะวันตกของเม็กซิโก 
  • 22:00 มีการประกาศภาวะฉุกเฉินในประเทศปารากวัย อเมริกาใต้ จากฝนหนักน้ำท่วมฉับพลัน ล่าสุดอพยพประชาชนมากถึง 15,000 รายแล้ว
  • 21:53 สนามแม่เหล็กโลกเบี่ยงไปทางใต้มากผิดปกติถึง -6.1 nT ลักษณะแบบนี้ทำให้ระดับของเกราะแม่เหล็กอ่อนแรงลงมาก อนุภาคจากดวงอาทิตย์จะรั่วไหลเข้ามาได้ บริเวณซีกโลกเหนือมีโอกาสเกิดแสงออโรราสูง (ไม่เกี่ยวกับไทยอยู่ดี อย่าตื่นเต้น)sw_dials-2130706-2153
  • 19:44 ภาพสดจาก CCTV สภาพภูเขาไฟ Popocatépetl ของประเทศเม็กซิโก ตั้งแต่ 19:30 ถึง 19:44 เวลาไทย [wpvp_embed type=youtube video_code=KJ3eAxXraKQ width=560 height=315]
  • 18:00 ช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ปฏิกิริยาของดวงอาทิตย์เริ่มไต่ระดับกลับสู่เส้นกราฟที่คาดการณ์ไว้ หลังจากตกลงไปต่ำผิดปกติอยู่ช่วงหนึ่งหลังเข้าสู่ปี 2013 ซึ่งควรเป็นปีที่ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาสุดบนสุดของวัฎจักรสุริยะที่ 24 นี้ 
  • 14:00 ฝนหนัก เกิดโคลนถล่มในทิเบต ยังไม่ทราบยอดผู้เสียชีวิต
  • 12.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 บริเวณ Kepulauan Mentawai ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 23.50 กม. (100.48°E  3.30°S)gfz2013ncfqScreen-Shot-2013-07-06-at-08.45.49
  • 11:00 นอกชายฝั่งเม็กซิโก พายุดีเปรสชันดาลีลา กำลังจะสลายตัว  ขณะที่พายุโซนร้อนอีริค กำลังทวีความเร็วลมขึ้นเป็นเฮอริเคน 
  • 10:30 ฝนตกหลายเขตใน กทม ตะวันออก
  • 09:00 เมฆอัลโตสเตรตัสเริ่มหายไป
  • 07:00 กทม มีเมฆอัลโตสเตรตัสปกคลุม แสงแดดส่องไม่ถึงพื้น
  • 04:50 ภาพถ่ายจากดาวเทียม MTSAT พบหย่อมความกดอากาศต่ำหย่อมใหม่ 92W ก่อตัวกลางมหาสมุทรแปซิฟิค ที่พิกัด 20°N 158.8°E
  • ภูเขาไฟ Popocatépetl ของประเทศเม็กซิโก ปะทุรุนแรง พ่นเถ้าถ่านไปทั่วเมือง ยกเลิกเที่ยวบินหลายเที่ยว  [wpvp_embed type=youtube video_code=AUiW5367Pt0 width=560 height=315]
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้  ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 23.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ Mona Passage เปอร์โตริโก ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 21.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 55.00 กม.
  • เมื่อ 18.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Kepulauan Barat Daya ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 502.20 กม.
  • เมื่อ 17.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 105.30 กม.
  • เมื่อ 15.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ นอกชายฝั่ง ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 20.40 กม.
  • เมื่อ 14.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ Jujuy ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 201.10 กม.
  • เมื่อ 13.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 142.20 กม.
  • เมื่อ 12.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ นอกชายฝั่ง ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 8.50 กม.
  • เมื่อ 12.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 105.10 กม.
  • เมื่อ 11.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 53.20 กม.
  • เมื่อ 11.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 17.00 กม.
  • เมื่อ 11.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 10.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 140.00 กม.
  • เมื่อ 10.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 3.80 กม.
  • เมื่อ 09.34 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 17.00 กม.
  • เมื่อ 09.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ นอกชายฝั่ง ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 4.40 กม.
  • เมื่อ 09.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ตอนกลางของ ประเทศเปรู ที่ความลึก 10.10 กม.
  • เมื่อ 08.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Tajikistan ที่ความลึก 45.70 กม.
  • เมื่อ 06.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Admiralty Islands ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 40.10 กม.
  • เมื่อ 05.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 40.00 กม.
  • เมื่อ 03.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 58.00 กม.
  • เมื่อ 01.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 19.70 กม.
  • เมื่อ 00.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.20 กม.