รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 21 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 พบการก่อตัวของพายุโซนร้อน Oswald ในอ่าว Carpentaria ของประเทศออสเตรเลีย อาจขึ้นฝั่งบนคาบสมุทรเคปยอร์คใน 12 ชม นี้
  • 10:00 พายุโซนร้อน 10P ในแปซิฟิคใต้ ทางเหนือของเกาะซามัว ได้รับชื่อเป็นทางการแล้วว่า แกรี Garry พายุนี้มีแนวโน้มจะกลายเป็นไซโคลน ทิศทางการเคลื่อนที่จะผ่านทางตอนเหนือประเทศซามัวออกทะเลลึก
  • 08:15  ดาวหางแพนสตาร์หรือ C/2011L4 ขณะนี้อยู่ห่างโลก 1.93  AU ยังอยู่นอกวงโคจรของดาวอังคาร   ดาวหางนี้จะปรากฏให้เห็นด้วยตาเปล่าในเดือนมีนาคมนี้
  • 08:10 ดาวหางไอซอน หรือ C/2012S1 ขณะนี้อยู่ห่างโลก 4.09 AU เลยวงโคจรของดาวพฤหัสเข้ามาเล็กน้อย  ดาวหางนี้จะปรากฏให้เห็นด้วยตาเปล่าในเดือนพฤศจิกายนนี้
  • 06:30 กทม 24 จันทบุรี 19°C ชัยภูมิ  17°C ลำพูน 17°C ลำปาง 14°C เชียงใหม่ 16°C แพร่ 14°C น่าน 14°C
  • 06:09 ระดับน้ำที่คงเหลือในเขื่อนต่างๆเวลานี้โดยกรมชลฯ
    image
  • 01:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุ
  • ดาวเคราะห์น้อย (2013 BT15) กำลังเข้าใกล้โลกในระยะห่าง 4.6 เท่าของดวงจันทร์ ด้วยขนาดราว 15 เมตร ความเร็ว 6.97 กม/วินาที

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 20 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:30 ภาพดาวเทียมจาก JTWC แสดงตำแหน่งพายุโซนร้อน 201310P ใกล้ซามัว และหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังปานกลางทางเหนือของออสเตรเลีย
  • 13:00 พบการก่อตัวใหม่ของพายุโซนร้อน  10P ทางตะวันตกของเกาะซามัว 
  • 08:00 จุดดับหมายเลข 1654 โคจรไปทางตะวันตกของพระอาทิตย์ ไม่มีจุดดับใดหันตรงมายังโลก ปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์เริ่มลดลง
  • 06:30 แคว้นแคชเมียร์ มีหิมะตกหนักผิดปกติ ยกเลิกทุกเที่ยวบิน ปิดโรงเรัยนกว่า 2,000 แห่ง ปิดถนนเข้าออก ทางการคาดว่าช่วงค่ำวันนี้ สภาพอากาศจะดีขึ้น
  • 01:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 19 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 หิมะถล่มอังกฤษ ไฟฟ้าดับบางพื้นที่ ถนนปิด โรงเรียนต้องปิดเรียนกว่า 3,000 แห่ง 
  • 07:30 ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 ขณะนี้อยู่ห่างจากโลกราว 0.0978 AU หรือ 38.061 LD (38 เท่าของระยะห่างจากโลกถึงดวงจันทร์)  ดาวเคราะห์น้อยซึ่งมีขนาด 45-58 เมตร ดวงนี้จะเดินทางเข้าใกล้โลกที่ระยะใกล้ผิวโลกยิ่งกว่าดาวเทียมค้างฟ้า คือที่ระยะประมาณ 22.000-27,000 กิโลเมตร ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ เวลา 02:26 ไทย จะอยู่ในเงาโลก 18 นาที และจะกลับออกไป โดยไม่มีการปะทะ 
  • 07:00 หนองคาย 16.9 °C เลย 16.6 °C ขอนแก่น 16.1 °C อุบล 16 °C โคราช 17.3 °C ร้อยเอ็ด 16.1 °C มุกดาหาร 15 °C อุดร 15.1 °C หนองบัวลำภู 17.4 °C นครพนม 14.5 °C สกลนคร 14.2 °C กาฬสินธุ์ 14.7 °C  ชัยภูมิ 19 °C ศรีสะเกษ 16.5 °C สุรินทร์ 16.2 °C บุรีรัมย์ 15.2 °C เชียงราย 14.5 °C เชียงใหม่ 16.7 °C แม่ฮ่องสอน 16.4 °C ตาก 16.1 °C  น่าน 14.6 °C อุตรดิตถ์ 17 °C พิษณุโลก 17.2 °C กำแพงเพชร 17.5 °C  พิจิตร 18.2 °C สุโขทัย 17.8 °C พะเยา 13.9 °C ลำพูน 14.5 °C ลำปาง 14.5 °C แพร่ 14.6 °C เพชรบูรณ์ 16.9 °C
  • 01:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 18 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

[stextbox id=”info”]หน่วยวัดความดันของอากาศ  hPa ย่อมาจาก เฮกโตปาสคาล ซึ่งมีค่าเท่ากับ  mbar หรือ มิลลิบาร์พอดี สองหน่วยนี้จึงใช้แทนกันได้ เช่น 1000 hPa = 1000 mbar[/stextbox]

  • 20:30 นราธิวาส ฝนตกหนัก ตลอดภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีลมตะวันออกเฉียงเหนือพัดแรงจัด
  • 19:00 แผนที่อากาศจากกรมอุตุฯ แสดงให้เห็นเส้นความกดอากาศ 1018 mbar เข้ามาในเขตไทยแล้ว อากาศจะเย็นลงอีก 
  • 18:00 พายุโซนร้อน Emang สลายตัวแล้ว ขณะนี้ทั่วโลกยังไม่มีพายุลูกใดก่อตัวใหม่
  • 06:40 สนามแม่เหล็กโลกวัดจากดาวเทียม  GOES-15 (ติดตั้งเครื่องวัด Hp ซึ่งตั้งฉากกับระนาบวงโคจรดาวเทียมและขนานกับแกนหมุนของโลก ) แสดงการลดลงอย่างรวดเร็ว (เส้นสีน้ำเงิน) ของสนามแม่เหล็กในด้านหันหาพระอาทิตย์ หรือด้านกลางวัน (ตัวย่อ M มาจาก Midnight และ  N มาจาก Noon) ซึ่งเกิดจากการบีบอัดของสนามแม่เหล็กโลกในด้านที่ถูก CME เข้าปะทะ (ด้านกลางวัน) 
  • 01:33 สนามแม่เหล็ก IMF เบี่ยงใต้มากกว่าปกติคือ Bz ไปมากถึง -12nT ลักษณะแบบนี้อาจทำให้ผู้คนแถบซีกโลกเหนือได้พบกับแสงออโรราที่ละติจูดต่ำได้ ส่วนลมสุริยะความเร็ว 392.7 km/s²  ซึ่งลดความเร็วมาโดยตลอดนับจากช่วง 2-3 วันที่ผ่านมา โดยขณะนี้มีความดันต่ำมากที่ 0.1 nPa
  • 01:00 จำนวนอนุภาคโปรตรอนต่อตารางเซ็นติเมตรในช่วงพลังงานสูงเริ่มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ช่วงเช้าวานนี้ที่ผ่านมา และเพิ่มสูงสุดช่วง 19:00 ของวานนี้ จากนั้นเริ่มลดจำนวนลง ส่วนโปรตรอนที่มีระดับพลังงานต่ำ  47-68 KeV มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนในลักษณะน่าสนใจในเวลานี้
  • 00:30 สนามแม่เหล็กโลกเริ่มเกิดความสั่นสะเทือนที่ระดับค่า kp=4 ในช่วง 1 ทุ่มวานนี้
  • 00:10 คาดการณ์การมาถึงของ CME จากดวงอาทิตย์ซึ่งเดินทางมาในทิศทางของโลกจากการปะทุระดับ M1 เมื่อวันก่อน จากนี้อาจเกิดปฏิกิริยาหลายอย่างกับอวกาศรอบโลก
  • น้ำระบายและน้ำท่า จากรายงานของกรมชลฯ เขื่อนภูมิพล 336 ลบ.ม./วิ เขื่อนสิริกิติ์ 324 ลบ.ม./วิ เขื่อนแควน้อย 8 ลบ.ม./วิ เขื่อนนเรศวร 184 ลบ.ม./วิ เขื่อนนครสวรรค์ 404  ลบ.ม./วิ เขื่อนเจ้าพระยา 60 ลบ.ม./วิ เขื่อนบางไทร 214 ลบ.ม./วิ เขื่อนป่าสัก 61 ลบ.ม./วิ  เขื่อนพระรามหก 7 ลบ.ม./วิ
  • อินโดนีเชีย – ผู้เสียชีวิตจากเหตุน้ำท่วมล่าสุด 11 ศพ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 17 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 พายุโซนร้อน Emang ในมหาสมุทรอินเดียใต้ยังคงความเร็วที่ 35 น็อต ทิศทางเดิม 
  • 13:00 น้ำท่วมในจากาตาร์เริ่มลดระดับลง หลังจากทางการอินโดนีเซียต้องประกาศภาวะฉุกเฉินเพราะน้ำล้นจากแม่น้ำเข้าท่วมเมืองหลวงแห่งนี้ ล่าสุดมียอดอพยพ 19,000 คนและมียอดผู้เสียชีวิต 3 ราย
  • 00:10 ยังไม่พบการก่อตัวของพายุใดๆในมหาสมุทรแปซิฟิค

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 16 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 09:00 พายุโซนร้อน Narelle ที่ออสเตรเลีย สลายตัวแล้ว
  • 06:30 กรุงเทพ 25°C ลพบุรี 25°C กระบี่-สตูล-ปัตตานี 23°C หนองคาย 20°C อุบล 20°C  เชียงใหม่ 17°C ลำพูน 17°C ลำปาง 15°C แำพร่ 15°C
  • จากาต้าร์ – ประชาชนกว่า 6,000 คนจากกว่า 50 หมู่บ้าน ใน 5 เขตเทศบาลในเมืองหลวงของอินโดนีเซีย เร่งอพยพอออกจากบ้าน หลังฝนหนักและเกิดการล้นของแม่น้ำ Ciliwung ซึ่งระดับน้ำที่ล้นฝั่งนั้นสูงกว่า 1.5 เมตร 
  • ปภ.ยกเลิกประกาศภัยพิบัติแล้ง 2 จังหวัด เหลือ 28 จังหวัด

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 15 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 11:30 ความเร็วลมสุริยะเพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ 533  km/sec สนามแม่เหล็กโลกยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ เริ่มปรากฏแสงออโรราที่ประเทศแถบเหนือ ภาพนี้ถ่ายจากสวีเดน เผยแพร่โดยนายปีเตอร์ โรเซน จากเมืองไครูนา
  • 07:30 ดวงอาทิตย์กลับสู่ความสงบ ไม่มีรอยโหว่บนบรรยากาศชั้นโคโรนา จุดดับทั้งหมดปะทุไม่เกินระดับ C
  • 05:30 พายุโซนร้อน Narelle และ Emang ต่างลดความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางเหลือเพียง 35 น็อตทั้งคู่
    image
  • 00:13 ความเร็วลมสุริยะเพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ 514  km/sec สนามแม่เหล็กโลกยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ 
  • พบ CME (Coronal Mass Ejection มวลพลาสมาร้อนจากบรรยากาศชั้นโคโรนา) หลุดออกจากดวงอาทิตย์ โดยมีอัตราความเร็วในการเคลื่อนที่ที่ระดับช้ามาก ราว 371 km/s ทิศทางตรงมายังโลก จึงคาดว่าจะไม่เกิดผลกระทบเช่นพายุแม่เหล็กโลกหรือพายุรังสีใดๆ (จุดแดงในภาพคือยาน STEREO-A จุดน้ำเงินคือ STEREO-B จุดเขียวทางขวาของภาพคือโลก) ภาพด้านขวาคือขณะที่มีการเข้าชน ราววันที่ 17 มกราคมนี้ตามเวลาไทย
  • สหรัฐฯ – มีผู้เสียชีวิต 1 ราย จากน้ำท่วมฉับพลันทางตอนเหนือของมิสซูรี
  • เม็กซิโก – หน่วยงานด้านสัตวแพทย์รายงานการระบาดระลอกใหม่ของไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์รุนแรง (HPAI) ซีโรไทป์ H7N3 จำนวน 2 ครั้ง ในฟาร์มไก่ไข่ของรัฐ Aguascalientes  ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2556 โดยพบว่ามีสัตว์ปีกในกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด 284,755 ตัว ติดโรค 2,990 ตัว และตาย 740 ตัว ซึ่งสัตว์ปีกที่เหลือถูกนำไปทำลาย
  • ญี่ปุ่น – พายุหิมะพัดถล่มกรุงโตเกียวอย่างฉับพลันติดต่อกันเป็นเวลากว่า 8 ชั่วโมง ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 ม.ค.ที่ผ่านมา วัดปริมาณหิมะที่ท่วมพื้นได้สูง 7 เซนติเมตร ส่งผลให้ขณะนี้ มีรายงานนักท่องเที่ยวตกค้างอยู่ในสนามบินนาริตะ ใกล้กรุงโตเกียว มากกว่า 3,000 คน อีกทั้งเที่ยวบินระหว่างประเทศหลายสิบเที่ยวต้องยกเลิกการให้บริการแก่ผู้โดยสาร และต้องยกเลิกเที่ยวบินภายในประเทศถึง 862 เที่ยวบิน บ้านเรือนประชาชน 6,200 หลังไม่มีมไฟฟ้าใช้ ส่วนที่ จ.ยามานาชิ มีหิมะตกท่วมพื้นสูงถึง 40 เซนติเมตร  รวมแล้วมีผู้บาดเจ็บ 267 ราย

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 14 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 11:00 พายุไซโคลน Narelle ทางตะวันตกของออสเตรเลียล่าสุด ได้ลดกำลังลงเป็นพายุโซนรอนแล้ว
  • 05:00 พายุโซนร้อนลูกใหม่ ในมหาสมุทรอินเดียใต้ (201309S )ได้รับการตั้งชื่อว่า Emang ส่วนพายุไซโคลน Narelle ทางตะวันตกของออสเตรเลีย ล่าสุด ได้ลดกำลังลงเหลือ 75 น็อต กลายเป็นพายุไซโคลนในระดับ CAT1
  • 01:30 ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาปานกลาง ความเร็วลมสุริยะ 438 km/sec สนามแม่เหล็กโลกอยู่ในเกณฑ์ปกติ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • 13.04 แผ่นดินไหวขนาด 1.6 สันทราย เชียงใหม่
  • 13.01 แผ่นดินไหวขนาด 1.6 สันทราย เชียงใหม่

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:38 เกิดการปปะทุระดับ M1.7 จากจุดดับ 1652 ที่พิกัด N17W22 บนดวงอาทิตย์ 
  • 12:30 PAGASA ประกาศการสลายตัวของพายุดีเปรสชัน  Bising แล้ว 
  • 12:15 ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาปานกลาง ความเร็วลมสุริยะ 380 km/sec สนามแม่เหล็กโลกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • 11:00 ภาพจากดาวเทียม Meteo-7 พายุไซโคลน Naraelle ลดความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางลงเหลือ 80 น็อต กลายเป็นไซโคลนระดับ CAT1 
  • 07:45 เกิดการปปะทุระดับ M1.0 จากจุดดับ 1652 ที่พิกัด N18W18 บนดวงอาทิตย์
  • 07:00 กทม 25°C หาดใหญ่  22°C กระบี่ 21°C อุดร 17°C ขอนแก่น 17°C พะเยา 14°C ตาก 16°C มกดาหาร 16°C นครพนม 15°C ลำพูน 12°C สกลนคร 15°C  ลำปาง 15°C อุบล 17°C แพร่ 15°C เชียงราย 13°C เชียงใหม่ 13°C แม่ฮ่องสอน 12°C
  • 07:00 ระบบของทางตะวันตก เช่น JTWC หรือ TSR ฯลฯ ยังไม่ยอมรับการเกิดขึ้นของพายุดีเปรสชัน “ซานซาน” ที่ฟิลิปปินส์ ซึ่งล่าสุดอุตุนิยมฯของฟิลิปปินส์หรือ PAGASA รายงานว่าพายุเคลื่อนตัวออกห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ (ฟิลิปปินส์ เรียกพายุลูกนี้ว่า Bising)
  • [stextbox id=”info”]04:53 เวลานี้ วันนี้ เมื่อ 3 ปีที่แล้ว (ตามเวลาไทย) เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่ประเทศเฮติ วัดได้  7.0 ตามมาตราขนาดโมเมนต์ โดยศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากกรุงปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศเฮติ ไปราว 25 กิโลเมตร มีคนตายไป 250,000 คน บาดเจ็บ 300,000 บ้านเรือน 250,000 หลัง และอาคารพาณิชย์อีกกว่า 30,000 หลัง และจนบัดนี้ การฟื้นฟูยังไปไม่ถึงไหน ผู้รอดชีวิตและผู้ไร้บ้านนับแสนคน ยังคงต้องอาศัยอยู่ตามเต็นท์ประสบภัยชั่วคราว แถมยังต้องเผชิญกับการก่ออาชญากรรม อหิวาตกโรค ลมฝนพายุ ที่เกิดขึ้นมาตลอดเวลาแล้วแต่ฤดูกาล โดยยังไม่มีวี่แววว่า ชีวิตพวกเขาจะกลับสู่ความปกติวันใด [/stextbox]
  • 04:00 พายุไซโคลน Narelle ลดความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางลงมาอยู่ที่ 90 น็อตกลายเป็นพายุไซโคลนระดับ CAT2
  • 03:30 พบการก่อตัวใหม่ของพายุโซนร้อน 09S ในมหาสมุทรอินเดีย 
  • เปรียบเทียบขนาดของจุดดับ 1654 บนดวงอาทิตย์ จะกว้างกว่าดาวพฤหัส 
  • เดนนิส ซิมมอนส์ (Dennis Simmons) ถ่ายภาพกลุ่มจุดดับ 1654 บนดวงอาทิตย์ จากกล้องดูดาวแบบส่วนตัวมาให้ชม เค้าเล่าว่าภาพนี้ถ่ายท่ามกลางหมอดควันจากไฟป่าใกล้ๆแถบบริสเบรน ของประเทศออสเตรเลีย ขณะนี้กลุ่มจุดดับ 1654 ขยายขนาดจากปลายด้านหนึ่งถึงอีกด้าน 1.8 แสนกิโกลเมตร หรือ 14 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางโลก และเกิดการปะทุระดับ M ถึง 2 ครั้งในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา
  • น้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ มีปริมาณน้ำทั้งหมด 47,375 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 68% ของความจุอ่างฯ ทั้งหมด น้อยกว่าปีก่อน 11,833 ล้าน ลบ.ม.

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 12 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 พายุไซโคลน Narelle ลดความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางลงมาอยู่ที่ 110 น็อตกลายเป็นพายุไซโคลนระดับ CAT3
  • 11:00 JMA ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน “ซานซาน” หรือชื่อที่อุตุฟิลิปปินส์เรียกว่า “Bising” ที่ 170 กม ตะวันออกเฉียงเหนือของโบรอนกัน ซามาตะวันออก ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางล่าสุด 45 กม/ชม ถือเป็นพายุลูกที่ 2 ของปีนี้ 
  • 08:00 ฝนตกเขตดุสิต บางซื่อ ดินแดง ห้วยขวาง
  • 07:15 ฝนตกเขตดุสิต จตุจักร บางซื่อ พระประแดง สมุทรปราการ
  • 07:00 TMD  ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 2013 02W  
  • 06:00 ปริมาณน้ำล่าสุดในเขื่อนต่างๆทั่วไทย ข้อมูลจากกรมชลฯ
  • 01:05 JTWC แสดงภาพถ่ายดาวเทียมให้เห็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังปานกลางที่ฟิลิปปินส์ (Medium) ที่กำลังก่อตัวอาจกลายสภาพเป็นพายุ ด้านล่างซ้ายคือพายุไซโคลนระดับ 4 ชื่อ Narelle และล่างขวาคือหย่อมความกดอากาศต่ำเกิดใหม่ในแปซิฟิคใต้ 
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก TMD แผนที่ลำชั้นบน ลมเปลี่ยนทิศจากลมเหนือเป็นลมตะวันออก นำความชื้นและกลุ่มเมฆเข้ามา ฝนอาจตก 
  • 00:20 พายุไซโคลน Narelle ทวีกำลังลมขึ้นเป็นไซโคลนระดับ CAT4 ที่ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางกว่า 115 น็อต
  • 00:10 สนามแม่เหล็กโลกเงียบสงบ ค่า kp < 2 ลมสุริยะอยู่ที่ความเร็วต่ำ คือ 333 km/s แต่เกิด Radio Blackouts ที่ R1

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)