รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 18 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:00 ฝนหนัก- น้ำป่าจากภูหินด่างไหลท่วมพื้นที่ ต.โนนก่อ อ.สิริธร จ.อุบลฯ
  • 19:00 เชื้ออีโคไล ระบาดในอัลเบอตา แคนาดา ตาย 1 ติดเชื้อ 10
  • 18:00 ฝนตกหลายแห่งใน กทม
  • 17:00 ภาพดาวเทียมโดย JTWC แสดงตำแหน่งล่าสุดของพายุดีเปรสขัน 18W พายุโซนร้อนอุซางิ และหย่อมความกดอากาศต่ำเกิดใหม่ใรทะเลฟิลิปปินส์ 
  • 16:00 เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมถนนสายบ.หนองแตน-บุณฑริก ต.ห้วยข่า อ.บุณฑริก จ.อุบลราชธานี สูงกว่า1เมตร รถไม่สามารถสัญจรไปมาได้
  • 15:30 TSR และระบบสากล ยอมรับการก่อตัวของ LPA90W แล้ว โดยใช้เลขพายุดีเปรสชัน 18W ซึ่งจะขึ้นฝั่งที่เมืองดานังไม่เกิน 12 ชม นับจากนี้ 201318W_1
  • 14:00 จากช่วงไร้สิวเมื่อหลายวันก่อน เข้าสู่ช่วงสงบอย่างยิ่ง ขณะนี้ดวงอาทิตย์กลับสิวเขรอะขึ้นมาอีกแล้ว SUN-20130918
  • 13:00 LPA90W ทวีกำลังเป็น High (ตัวนี้ JMA ให้เป็น TD มาหลายวันแล้ว และเป็นตัวที่เป็นข่าวในไทยตอนนี้)
  • 11:00 อินโดนีเซียประกาศอพยพประชาชนกว่า6,000คนออกจากพื้นที่หลังภูเขาไฟซินาบุงปะทุพ่นเถ้าถ่านออกมาจำนวนมาก BUba8VZCcAAlZN3
  • 09:04 ฝนตกหนักใน จ.อุบลฯ ในภาพเป็นน้ำท่วมขัง หน้า ร.ร.จีนถึงสี่แยกวณารมย์ (เครดิตอยู่ในภาพ)
  • 09:00 ภาพน้ำท่วมเมืองแทมปิโก ของประเทศเม็กซิโก จากฝนหนักของพายุเฮอริเคนอินกริด (เครดิตภาพ @qtfBUa-ZcNCYAAYObI BUa0sZfCQAAZEW-
  • 08:30 มีข่าวฝนถล่มกรุง 19-20 ก.ย. ในสื่อ เรามาดู WRF Model ต่างๆแล้วติดตามว่าเป็นจริงหรือไม่ โดยดูจาก Wrf Model Thaiwater.Net  ให้ฝนหนักไปที่เพชรบุรี กาญจณบุรี และฝั่งตะวันออกในวันที่ 20-21 ถึง 150+ mm
  • 08:00 เขื่อนเจ้าพระยายังเร่งระบายน้ำ ระดับน้ำล่าสุด 13 เมตร 
  • 06:30 เส้นทางพายุอุซางิ ล่าสุดจาก TSR พายุจะผ่านทางตอนใต้ของไต้หวันไปขึ้นฝั่งจีน โดยจะทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่นระดับ 2 ระหว่างทาง 201317W-20130917-0600
  • 04:30 หย่อมความกดอากาศต่ำ 98W สลายไป หย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ในทะเลจีนใต้ทวีกำลังแรงขึ้น ดีเปรสชันอุซางิ ยังอยู่ใกล้จุดเกิด
  • 01:00 ดีเปรสชันในวงกลมแดง ที่ JMA ประกาศไว้ 2 วันที่แล้ว (คือ LPA90W ของฝรั่งที่ยังไม่ยอมให้สถานะเป็นพายุ) ทิศทางยังเคลื่อนเข้าฝั่งเวียดนาม
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 บริเวณ Maug Islands ทางเหนือของ หมู่เกาะมาเรียนา ที่ความลึก 138.30 กม.
  • เมื่อ 23.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 7.90 กม.
  • เมื่อ 23.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 9.70 กม.
  • เมื่อ 23.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ทางตะวันตกของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 23.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Nias ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 26.30 กม.
  • เมื่อ 23.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 95.20 กม.
  • เมื่อ 22.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 19.00 กม.
  • เมื่อ 21.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ เกาะสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 89.20 กม.
  • เมื่อ 19.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 4.90 กม.
  • เมื่อ 19.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่ง Antagasta ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.80 กม.
  • เมื่อ 18.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 13.80 กม.
  • เมื่อ 18.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 17.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 50.00 กม.
  • เมื่อ 17.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 76.00 กม.
  • เมื่อ 17.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 60.00 กม.
  • เมื่อ 16.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ Eritrea ที่ความลึก 9.80 กม.
  • เมื่อ 15.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 9.00 กม.
  • เมื่อ 14.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Azores Islands Portugal ที่ความลึก 28.50 กม.
  • เมื่อ 14.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางตะวันตกของ Montana ที่ความลึก 5.90 กม.
  • เมื่อ 11.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ New Ireland ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 327.80 กม.
  • เมื่อ 10.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 100.00 กม.
  • เมื่อ 09.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 41.00 กม.
  • เมื่อ 07.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 80.20 กม.
  • เมื่อ 07.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Celebes Sea ที่ความลึก 567.30 กม.
  • เมื่อ 07.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 36.00 กม.
  • เมื่อ 06.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Flores Sea ที่ความลึก 35.30 กม.
  • เมื่อ 06.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะนิโคบา ประเทศอินเดีย ที่ความลึก 59.70 กม.
  • เมื่อ 05.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 112.00 กม.
  • เมื่อ 04.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Sucre Venezuela ที่ความลึก 4.30 กม.
  • เมื่อ 04.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 12.30 กม.
  • เมื่อ 03.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทางตะวันออกของ ประเทศตุรกี ที่ความลึก 5.60 กม.
  • เมื่อ 03.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Washington ที่ความลึก 15.50 กม.
  • เมื่อ 02.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 02.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Flores ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 20.40 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

เหตุการณ์วันนี้

[stextbox id=”info”]ผลสรุปเบื้องต้น จาก NASA อุกกาบาตรัสเซียนี้มีขนาดก่อนเข้าสู่บรรยากาศโลก 17-20 เมตร หนัก 7,000 ตัน ซึ่งเล็กเกินกว่าจะตรวจพบด้วยระบบเฝ้าระวังได้ อุกกาบาตได้เข้าสู่บรรยากาศโลกที่ความเร็ว 66,960 กม/ชม ลุกไหม้จนขนาดเล็กลงหลายเท่าและระเบิดตัวเองที่ความสูง 23.3 กม เหนือเขตชิลยาบินส์ แคว้นอูราล แรงอัด (ช็อคเวฟ)และเศษหินก่อความเสียหายต่ออาคารและผู้คนนับพันตามรายงานจากสื่อต่างๆ (NASA กำลังหารายละเอียดที่ชัดเจนกว่านี้จากข้อมูลอื่นๆที่เข้ามา จะรายงานให้ทราบต่อไป)[/stextbox]

  • 23:53 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 อยู่ที่ระยะ 64,535 กม  อีก 2 ชม จะเข้าสู่จุดใกล้สุด
  • 22:30 รูปวงโคจรก่อนเข้าชนโลกของอุกกาบาตเชลยาบินส์ Chelya_orb_s
  • 22:00 ยอดบาดเจ็บจากกระจกบาดและช็อคเวฟของอุกกาบาตรัสเซียไปที่ 1,000 ราย สาหัส 2 ราย บ้าน โรงเรียน เสียหาย 3,000 แห่ง
  • 21:24 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 อยู่ที่ระยะ 120,078 กม จากโลก  จะเข้าจุดใกล้สุดใน 5 ชม latest_da14_shoulder_673-2124

[stextbox id=”info”] ชื่อ 2012 DA14 นั้น2012 หมายถึงปีที่ค้นพบ D คือปักษ์ที่ 2 ของปี คือครึ่งหลังของกุมภาพันธ์ A14 คือลำดับที่ 351 ในค้นพบในปักษ์นั้น คำนวนจาก (14*25)+A คือ 1 จะได้ 351 [/stextbox]

  • 19:00 ยอดบาดเจ็บจากกระจกบาดและช็อคเวฟของอุกกาบาตรัสเซียไปที่ 500 รายแล้ว
  • 18:23 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 อยู่ที่ระยะ 188,559 กม จากโลก  latest_da14_shoulder_673-18
  • 15:11 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 อยู่ที่ระยะ 261,390 กม จากโลก latest_da14_shoulder_673
  • 14:45 ภาพความเสียหายจากอุกกาบาตในรัสเซีย ยอดบาดเจ็บล่าสุดมากกว่า 400 ราย (สื่อใน) 150 ราย (สื่อนอก)  ส่วนใหญ่บาดเจ็บเล็กน้อยจากกระจกแตกและ ShockwaveBDIR-LBCIAA_v6l
  • 14:25 ฝนตก อ.ละแม ชุมพร
  • 14:00 เส้นทางการเข้าวสูบรรยากาศของอุกกาบาต จุดแดงที่ลูกศรชี้คือจุดที่อุกกาบาตระเบิดตัวเองChelya_track_annotated_s
  • 13:30 คลิปของ Fireball พุ่งผ่านท้องฟ้า สามารถมองเห็นได้ในเขตอูราลของประเทศรัสเซีย และในอีกหลายเมืองของประเทศรอบด้าน เช้านี้   เช่น Chelyabinsk,Tyumen, เขตปกครอง Sverdlovsk,สาธารณรัฐบาชกิเรียและทางตอนเหนือของประเทศคาซัคสถาน ล่าสุดมีรายงานผู้บาดเจ็บ 102 ราย
  • 12:31 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 อยู่ที่ระยะ 321,745 กม จากโลก นับถอยหลัง 13 ชม 53 นาทีlatest_da14_shoulder_673 (2)
  • 11:30 ตารางการปรากฏ และช่วงเวลาสำหรับผู้สังเกตการณ์ 2012 DA14 ในประเทศไทย กดดู
  • 11:00 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 อยู่ที่ระยะ 357,536 กม จากโลก
  • 10:20 มีรายงานพบเทหวัตถุคล้าย Fireball  พุ่งผ่านฟ้าในเขตอูราล ของรัสเซีย
  • 10:00 พายุไซโคลนจีโนในมหาสมุทรอินเดีย ลดกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 50 น็อต  แนวโน้มลดกำลังลงเรื่อยๆ
  • 09:54 ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 อยู่ที่ระยะ 382,006 กม จากโลก นับถอยหลังถึงจุดใกล้ที่สุด 16 ชั่วมโมง 23 นาที latest_da14_shoulder_673
  • 01:15 ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 เข้าสู่ระยะ 0.0025 AU แล้วในขณะนี้ อีกราว 25 ชั่วโมงจากนี้จะเข้าสู่สุดเฉียดผิวโลกมากที่สุด โดยลอดใต้วงโคจรดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาtest3386
  • เกิดไฟป่าแถบเมืองวัลปาราซีโอ ในชิลี ทางการเร่งสกัดกั้นไฟป่าที่กำลังเผาผลาญพื้นที่ภูเขาในเมืองท่าวัลปาไรโซบ้านเรือนอย่างน้อย 70 หลังถูกไฟเผา ประชาชนกว่า 500 ครอบครัวต้องอพยพ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • ขณะนี้ยังไม่มีเหตุการณ์

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00  พายุโซนร้อน 201315S ในมหาสมุทรอินเดีย ได้ชื่อเรียกเป็นทางการแล้วว่า Gino ความเร็วลม กสก ล่าสุด 45 น็อต  เคลื่อนที่ตามกฏการเลี้ยวซ้าย Gino
  • 10:00 พบการก่อตัวของพายุโซนร้อนลูกใหม่ในมหาสมุทรอินเดีย 201315S ความเร็วลม กสก ล่าสุด 35 น็อต เคลื่อนที่ตามกฏการเลี้ยวซ้าย ซึ่งเป็นปกติของพายุในซีกโลกใต้201315S-110213
  • 09:00 Update ยอดเสียหายจากแผ่นดินไหว ขนาด 8.0 และ สึนามิที่เกาะลาตา (เกาะย่อยของหมู่เกาะโซโลมอน) ยอดเสียชีวิตเป็นทางการ 10 ราย (ไม่เป็นทางการ 13 ราย) บ้าน 590 หลัง ไร้ที่อยู่อาศัย 5,000 คน
  • 00:10 ดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 อยู่ห่างจากโลกที่ระยะ 0.0167 AU ในเวลานี้ (ดาวเคราะห์น้อยจะเคลื่อนที่พาดผ่านเข้ามาทางตอนเหนือของโลก และจะผ่านเหนือน่านฟ้าด้านเอเชีย เวลาประมาณ 02:25 เช้าวันที่ 16 ก.พ. ตามเวลาในประเทศไทย จะอยู่ในเงาของโลกประมาณ 18 นาที) test6751
  • สหรัฐฯ  – มีผู้เสียชีวิต 6 รายจากพายุฤดูหนาว “นีโม” ซึ่งทำให้หิมะตกเกือบ 30 นิ้วในคอนเน็กติกัด มิสซิสซิปปี นิวแฮมเชีย นิวยอร์ค
  • สหรัฐฯ  – เกิดพายุทอร์นาโดในเมืองลอเรนซ์ และอีกหลายเมืองในรัฐมิสซิสซิปปี มีรายงานความเสียหายของบ้านและเสาไฟฟ้า รวมทั้งต้นไม้หลายต้น
  • สหรัฐฯ  – คลิปทอร์นาโดถล่มเมือง Hattiesburg ในรัฐมิสซิสซิปปี มีผู้บาดเจ็บ 10 ราย สิ่งก่อสร้างเสียหายจำนวนมาก
  • เปรู – มีผู้เสียชีวิต 6 รายจากน้ำท่วมฉับพลันเหตุเพราะฝนตก 7 ชั่วโมงใน Arequipa มีบ้านหลายหลังถูกน้ำพัด รวมทั้งสะพานถล่ม 2 แห่ง

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • ขณะนี้ยังไม่มีเหตุการณ์

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)