รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 9 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำแทบไม่เปลี่ยนแปลงแล้ว เทียบกับเช้านี้PSKDAM-09OCT13-1800
  • 17:00 ตามระบบคาดการณ์พายุของ ECMWF พายุนารี จะเคลื่อนเข้าไปในอ่าวตังเกี๋ยในอีก 7 วันข้างหน้า Wind3285032and32mslp_Asia_168
  • 15:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำแทบไม่เปลี่ยนแปลงแล้ว เทียบกับเช้านี้pskdam-20131009-1500
  • 14:00 ในโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 4 ลูก คือ ดานัสที่ญี่ปุ่น นาร์ดาในแปซิฟิคตะวันออก 02B ในอันดามันและ 24 W ที่ฟิลิปปินส์ TSR-20131009
  • 13:00 กระแสลมที่ระยะความสูง 1.5 กม หรือ 850hPA ลมสวนทางซ้ายขวาแบ่งครึ่งไทยจากร่องความกดอากาศชัดเจน 2013-10-09_13_UpperWind850.jpg  1442×1006
  • 12:00 ระดับน้ำที่เขื่อนเจ้าพระยา เริ่มลดลงต่ำกว่า 14 เมตร
  • 09:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำ inflow ลดลงใกล้่ outflow แล้วในเวลานี้ pasakdam-20131009-0900
  • 08:00 ดีเปรสชันที่หมู่เกาะอันดามัน(เกิดจากหย่อมความกด 90W ที่ไปจากอ่าวไทยวันก่อน) กลายสภาพเป็นพายุโซนร้อน 02B แล้วในเวลานี้ ทิศทางมุ่งไปอินเดีย 201302B-20131009-0801 (Custom)201302B
  • 06:00 ผังน้ำเจ้าพระยา เวลานี้ Chao_low09102013
  • 06:00 ภาพจาก JTWC แสดงการทวีกำลังของหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ในทะเลอันดามัน หย่อมความกดอากาศต่ำ 92W และพายุดีเปรสชัน 24W ในทะเลฟิลิปปินส์ 
  • 06:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำ 137% ของระดับเก็บกักปกติ PSKDAM-09OCT13-0600
  • 04:00 พบการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน 24W ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ เส้นทางพายุจะผ่านประเทศฟิลิฟฟินส์เข้ามาในทะเลจีนใต้ 201324W-20131009-0400
  • 03:00 ลมสุริยะจากหลุมโคโรนาบนดวงอาทิตย์เมื่อวันจันทร์ มาถึงโลกเมื่อคืนนี้ ขณะนี้เกิดพายุสนามแม่เหล็กโลกที่ระดับ G1 Kp-20131009
  • 00:00 สถาการณ์ล่าสุดของเขื่อนป่าสักฯ pasakdam-20131009-0000
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 8 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 สถาการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯเริ่มมีอาการทรงตัว เมื่อน้ำเข้าเริ่มลดลง เหลือ 767 โดยน้ำออกคงเดิมมานานที่ 700 ลบม/วินาที PSKDAM-08OCT13-2100
  • 20:00 ไต้ฝุ่นดานัส ในช่องแคบเกาหลี ลดกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนแล้วในเวลานี้ กำลังเคลื่อนตัวเข้าทะเลญี่ปุ่น 201323W
  • 18:00 สถาการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯเริ่มมีอาการทรงตัว เมื่อน้ำเข้าเริ่มลดลง เหลือ 783 โดยน้ำออกคงเดิมมานานที่ 700 ลบม/วินาที PSKDAM-08OCT13-1800
  • 16:00 ทั่วโลกเวลานี้ เหลือพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูก คือ พายุโซนร้อนนาร์ดา ทางตะวันตกของเม็กซิโก และไต้ฝุ่นดานัส ในช่องแคบเกาหลี TSR-20131008
  • 15:00 สถานการณ์เขื่อนป่าสักฯขณะนี้ pasakdam-20131008-1500
  • 14.55 สภาพน้ำท่วมหน้าธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาอรัญประเทศ Arun20131008
  • 14:30 ยอดผู้เสียชีวิตจากน้ำท่วมสิงหา-ตุลา 36 ราย
  • 14:01 ไต้ฝุ่นดานัส เคลื่อนเข้าช่องแคบเกาหลี ล่าสุดลดกำลังลงเหลือไต้ฝุ่นระดับ 1 Danas-20131008-1401 (Custom)
  • 12:00 สถานการณ์เขื่อนป่าสักฯขณะนี้ pasakdam-20131008-1200
  • 08:58 ระดับน้ำเจ้าพระยา หน้าราชนาวิกสภา บางกอกน้อย BWBR68lCYAAB_0R
  • 06:50 ฝนตกเขตดอนเมือง
  • 07:00 JTWC จับตาหย่อมความกดอากาศต่ำ 2 ลูกใหม่คือ 91W และ 92W ในแปซิฟิคตะวันตก ทางด้าน 90W ในมหาสมุทรอินเดีย จะพัฒนาเป็นดีเปรสชันและเคลื่อนไปทางประเทศอินเดียต่อไป JTWC-20131008-0700
  • 07:00 JMA ประเมินเส้นทางไต้ฝุ่นดานัสล่าสุด จะเข้าทางทะเลญี่ปุ่น วกขึ้นทางเหนือของคิวชู DANAS-JMA-20131008-0700
  • 06:00 สถานการณ์เขื่อนป่าสักฯขณะนี้ น้ำ 136.72% ของระดับปกติPSKDAM-08OCT13-0600
  • 05:00 หย่อมความกดต่ำ 90W เหนือหมู่เกาะอันดามันเริ่มทวีกำลังขึ้น มีแนวโน้มจะกลายเป็นพายุดีเปรสชัน ทิศทางเคลื่อนไปประเทศอินเดีย 20131007_2232Z-vis
  • 04:00 ไต้ฝุ่นดานัสเคลื่อนเข้าใกล้เกาะคิวชู แรงลมเริ่มส่งผลต่อบริเวณชายฝั่งตอนใต้ของญี่ปุ่นแล้วในเวลานี้ 201323W
  • 03:00 ยอดผู้เสียชีวิตจากพายุไต้ฝุ่นฟิโทว์ในประเทศจีนล่าสุด 5 ราย สูญหาย 4 ราย
  • 00:00 สภาพน้ำในเขื่อนป่าสักฯ pasakdam-20131008-0000
  • กราฟน้ำเขื่อนป่าสักฯ 7 ต.ค. 56 เทียบกับปีที่มากที่สุดคือ 21 ต.ค.2553 psk
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง /  เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 7 ตุลาคม 2556

[stextbox id=”info”]เขื่อนมีความจุด้านบน 3 ระดับคือ 1.ระดับปกติ 2.ระดับสูงสุด 3.ระดับเผื่อล้น เขื่อนป่าสักฯเวลานี้ใช้ระดับเผื่อล้น ซึ่งห้ามใช้ติดต่อกันนานๆหลายวัน[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 ระดับน้ำไหลเข้าเขื่อนป่าสักฯ 858.88 ลบม/วินาที PSKDAM-07OCT13-2100
  • 18:00  ระดับน้ำไหลเข้าเขื่อนป่าสักฯ 859.15 ลบม/วินาที  PSKDAM-07OCT13-1800
  • 15:30 พายุดีเปสชัน 14E นอกชายฝั่งตะวันตกของเม็กซิโก ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า นาดา (Narda)
  • 15:00 ระดับน้ำไหลเข้าเขื่อนป่าสักฯ 858.72 ลบม/วินาที  pasakdam-20131007-1500
  • 14:01 ไต้ฝุ่นดานัส ทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่นระดับ 4 ความเร็วใกล้ศูนย์กลาง กว่า 213 กิโลเมตร/ชั่วโมง  เกาะตรงตาพายุในภาพ คือเกาะโอกินาวา เส้นทางยังคงเคลื่อนไปหาญี่ปุ่น
  • 13:00 JTWC ระบุในเอกสาร ABIO10 ลักษณะของหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ที่ข้ามฝั่งจากอ่าวไทยไปอันดามันนั้น มีแนวโน้มลมเฉือนและการเคลื่อนที่ของอากาศแบบสลายตัวยาก สามารถพัฒนาไปเป็นพายุ 
  • 12:30 ตายแล้ว 1 ราย ผลจากไต้ฝุ่นฟิโทว์ถล่มจีน (ภาพ AFP) ก่อนหน้านี้มีคำสั่งอพยพแล้ว 574,000 คน ออกจากชายฝั่งในเส้นทางพายุ
  • 12:00 ระดับน้ำไหลเข้าเขื่อนป่าสักฯ 934.65 ลบม/วินาที  pasakdam-20131007-1200
  • 11:00 ขณะนี้ ทุ่นสึนามิ 23227 ของอินเดียก็เสียด้วย ทุ่น 23401 ของไทยก็ยังไม่มีการซ่อมหลังเสียมาตั้งแต่ 21 ส.ค. น่าห่วงมาก 23401-23227
  • 10:47 ชลบุรี น้ำท่วม รถผ่านไม่ได้! ถนน 315 หัวไผ่-ชลบุรี อ.พนัสนิคม น้ำท่วม 20 – 60 ซม. กม.16-30 กรมทางหลวง แนะให้รถวิ่งสวนทางในช่องขาเข้า
  • 09:00 ระดับน้ำไหลเข้าเขื่อนป่าสักฯ ลดลงเหลือ 858.56 ลบม/วินาที pasakdam-20131007-0900
  • 06:48 ตำแหน่งของพายุทั้ง 2 ลูกและหย่อมความกดอากาศต่ำทั้ง 2 หย่อม โดยเฉพาะหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ที่ส่งผลให้ฝนหนักในไทยตลอด 2 วันที่ผ่านมา กำลังจะข้ามฝั่งไปด้านทะเลอันดามัน จากนั้นจะทวีกำลังขึ้นเป็นดีเปรสชันต่อไป 
  • 06:15 ต.กร่ำ อ.แกลง จ.ระยอง ฝนตกหนัก – หยุดตกตอน 07:12
  • 06:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ น้ำ 135.46% ของระดับเก็บกักปกติ ยังไม่มีการเพิ่มการระบายแต่อย่างใดpasakdam-20131007-0600
  • 05:15 ไต้ฝุ่นฟิโทว์ขึ้นฝั่งจีนที่เมืองเหวินโจว และลดกำลังเป็นพายุโซนร้อนอย่างรวดเร็วFITOW-20131007-0500
  • 05:01 ภาพจากดาวเทียม MTSAT-2 ไต้ฝุ่นดานัส ทวีกำลังจากระดับ CAT2 เป็น CAT3 เห็นตาพายุชัดเจน ทิศทางยังคงมุ่งไปญี่ปุ่น 
  • 03:00 จากโมเดล ECMWF หย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ที่เคลื่อนจากอ่าวไทยผ่านเพชรบุรี-ประจวบไปลงอันดามัน อาจจะทวีกำลังเป็นพายุใน 3 วันข้างหน้า โดยทิศทางของพายุนี้ จะเคลื่อนไปทางอินเดีย Wind3285032and32mslp_Asia_72
  • 02:00 พบการก่อตัวใหม่ ของพายุดีเปรสชัน 14E นอกชายฝั่งตะวันตกของสหรัฐฯ
  • 01:00 ไต้ฝุ่นฟิโทว์ผ่านเกาะไต้หวันเข้าใกล้ชายฝุ่งประเทศจีน คาดว่าจะขึ้นฝั่งในช่วงเช้าของวันนี้แถบเมืองฟูอัน
  • 00:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ขณะนี้ น้ำที่ไหลเข้าลดลงเหลือ 959.96 ลบม./วิ pasakdam-20131007-0000
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 14:27 เกิดแผ่นดินไหว ประเทศพม่า (20.91,99.43) ขนาด 3.1
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 6 ตุลาคม 2556

[stextbox id=”info”]เขื่อนพระรามหก เป็นเขื่อนทดน้ำแห่งแรกในประเทศไทย เปิดใช้สมัย ร.6 อยู่ที่ ต.ท่าหลวง อ. ท่าเรือ จ. อยุธยา[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:30 พายุดีเปรสชันคาเรน ในอ่าวเม็กซิโก สลายตัว
  • 18:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ล่าสุด  PSKDAM-06OCT13-1800
  • 17:00 ไต้ฝุ่นดานัส ทวีความเร็วมลมใกล้ศูนย์กลางขึ้นไปถึง 158 กม/ชม กลายเป็นไต้ฝุ่นระดับ CAT2 ทิศทางยังคงมุ่งญี่ปุ่น
  • 15:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ล่าสุด น้ำ 133.78% ของระดับเก็บกักปกติPSKDAM-06OCT13-1500
  • 13:30 สภาพน้ำท่วม ล่าสุดจากตลาดพนัสนิคม 
  • 12:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ล่าสุดpasakdam-20131006-1200
  • 11:00 พายุโซนีร้อนคาเรน ในอ่าวเม็กซิโกล อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชัน
  • 10:01 ภาพล่าสุดหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ในอ่าวไทยและลูกสมุน ตัวก่อฝนหนักและดึงลมมรสุมเข้ามา มีผลตั้งแต่เมื่อวานนี้ 90W-20131006-1001
  • 09:00 สภาพเขื่อนป่าสักฯ เวลานี้ น้ำสูงกว่า 132.53% จากระดับเก็บกักปกติ น้ำยังไหลเข้ามากกว่าไหลออก และยังไม่ได้รับ “คำสั่ง” ให้ระบายมากกว่า 700 ลบม/วินาทีpasakdam-20131006-0900
  • 08:01 ภาวจากดาวเทียม MTSAT-2 พายุไต้ฝุ่นดานัส TY23W ซึ่งทวีกำลังขึ้นมาจากพายุโซนร้อน ยังเคลื่อนที่โดยมีเส้นทางประเมินไว้ว่าจะไปขึ้นฝั่งที่เกาะควิชูของญี่ปุ่น 
  • 08:01 ภาวจากดาวเทียม MTSAT-2 พายุไต้ฝุ่นฟิโทว์ TY22W ได้ลดกำลังลงจาก CAT2 เหลือไต้ฝุ่นระดับ CAT1 กำลังเคลื่อนถึงทางเหนือของไต้หวัน 
  • 07:30 สภาพน้ำที่ท่วมบริเวณหน้าตลาดเทศบาล อรัญประเทศ 
  • 07:15 น้ำป่าไหลหลากท่วมบ้านเรือนใน ต.บ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง (ภาพ ประทีป นันทะผาบ) 
  • 04:00 TSR ประเมินพายุโซนร้อนคาเรน.ในอ่าวเม็กซิโก จะขึ้นฝั่งที่รัฐลุยเซียนาในไม่กี่ ชม นี้ แล้ววิ่งเลียบชายฝั่งสหรัฐฯ จากนั้นอ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชันแล้วสลายตัว 201312N
  • 00:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ น้ำเข้า 1032.2 ออก 700.85pasakdam-20131006-0000
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 พายุโซนร้อนดานัส ทวีกำลังเป็นไต้ฝุ่นระดับ 1 ทิศทางมุ่งหน้าเกาะคิวชู 
  • 21:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ  ปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 1,028.91 ลบม/วินาที  อัตราการระบาย ยังคงที่ 700.66 ลบม/วินาที  pasakdam-20131005-2100
  • 20:00 JTWC จับตาหย่อมความกดอากาศต่ำที่ก่อตัวใหม่กลางอ่าวไทย หมายเลข 90W หย่อมความกดนี้ทำให้เกิดฝนตกหนักในภาคตะวันออกของไทยตลอดวัน และในภาพจะเห็นไต้ฝุ่นฟิโทว์และพายุโซนร้อนดานัสด้วย 
  • 18:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ  ปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 1,025.63 ลบม/วินาที  อัตราการระบาย ยังคงที่ 700.46 ลบม/วินาที pasakdam-20131005-1800
  • 16:00 พายุโซนร้อนคาเรน เริ่มอ่อนแรงเมื่อเข้าใกล้ฝั่งนิวออรีนส์
  • 15:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ  ปริมาณน้ำไหลลงอ่าง 1,061.75 ลบม/วินาที  อัตราการระบาย ยังคงที่ 700 ลบม/วินาที pasakdam-20131005-1500
  • 12:30 ทิศทางพายุไต้ฝุ่นฟิโทว์ คาดว่าจะขึ้นฝั่งที่เมืองเหวินโจว ประเทศจีน ใน 36 ชม
  • 12:01 ภาพดาวเทียมของไต้ฝุ่นฟิโทว์ พายุจะผ่านไต้หวันใน 24 ชม ทางการไทเปประกาศเตือนภัยแล้ว
  • 12:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ  ปริมาณน้ำไหลลงอ่างยังสูงถึง 1,086.75 ลบม/วินาที  อัตราการระบาย ยังคงที่ 700 ลบม/วินาที pasakdam-20131005-1200
  • 11:45 ทิศทางพายุโซนร้อนดานัส Danas TY23W มีแนวโน้มจะทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่น ทิศทางตรงไปขึ้นฝั่งที่เกาะคิวชูของญี่ปุ่นใน 72 ชม ข้างหน้านี้
  • 11:30 สภาพน้ำท่วมจากฝนหนัก พนัสนิคม-ชลบุรี เวลานี้ 
  • 10:00 12:30 สนามแม่เหล็กโลกเข้าสู่สภาพปกติแล้ว หลังผลจากการชนของ CME จากดวงอาทิตย์ผ่านพ้นไป 
  • 09:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ  ปริมาณน้ำไหลลงอ่างยังสูงถึง 1,163.14 ลบม/วินาที  อัตราการระบาย ยังคงที่ 700 ลบม/วินาทีpasakdam-20131005-0900
  • 07.27 แผ่นดินไหวขนาด 5.3 พรมแดนประเทศอัฟกานิสถาน-ประเทศทาจีกีสถาน ที่ความลึก 84 กม. รอรายงานความเสียหาย 
  • 06:00 สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำเก็บกักเกินพันล้าน ลบม แล้วในเวลานี้ และปริมาณน้ำไหลลงอ่างยังสูงถึง 1,132.49 ลบม/วินาที แต่ไม่เพิ่มอัตราการระบาย ยังคงที่ 700 มาตั้งแต่วานนี้PSKDAM-05OCT13-0600
  • 03:00 ฟลอริดาประกาศภาวะฉุกเฉินเพื่อรับมือพายุโซนร้อนคาเรน 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 05:28 แผ่นดินไหว ต.เวียง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ (19.88,99.28) ขนาด 2.5
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 16 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 สรุปยอดผู้เสียชีวิตล่าสุดจากพายุมานหยี่ 3 ราย สูญหาย 5 ราย บาดเจ็บ 138
  • 19:00 พายุมานหยี่ เคลื่อนลงทะเลที่จังหวัดอิวาเตะ แนวโน้มอ่อนกำลังลง ใกล้สลายตัวMANYI-20130916-1900
  • 16:30 ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ฝนตกหนัก
  • 16:15 สภาพในเมืองเกียวโตที่ถูกน้ำท่วม โรงแรมต้องนำเรือมาให้แขกได้นั่งออกมาหลังน้ำในแม่น้ำคัตซูระเอ่อล้นท่วมเมือง (เครดิตภาพ lematin.ch)
  • 16:00 ยอดผู้เสียชีวิตล่าสุดจากพายุมานหยี่ถล่มญี่ปุ่น 2 ราย สูญหาย 4 บาดเจ็บ  127 (NHK) 
  • 15:00 ระดับน้ำในเขื่อนเจ้าพระยายังปกติ แต่มีข่าวว่าระบายเกินความจุท้ายน้ำจนไปล้นแถบ อ.เสนา อยุธยา
  • 14:00 JMA ระบุการก่อตัวเป็นดีเปรสชันของหย่อมความกดอากาศต่ำ 2 ลูก คือ 99W ในทะเลฟิลิปปินส์ และ 90W ในทะเลจีนใต้
  • 13:00 JTWC ระบุการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำลูกใหม่ LPA90W  ในทะเลจีนใต้ (ในภาพเรียงจากซ้ายมาขวา 90W 99W 98W)
  • 11:15 สภาพจักรยานล้มระเนระนาด ในเมืองทาชิกาวา จากพายุมานหยี่ (เครดิตภาพ
    Toshio Suzuki BUQiFK2CQAEGTyo
  • 13:00 NHK รายงานยอดผู้เสียชีวิต  1 ราย สูญหาย 3 ราย  บาดเจ็บ 71 รายใน 18 จังหวัด ผลจากพายุมานหยี่
  • 10:30 เกิดน้ำท่วมในจังหวัดฟุกุอิ จากพายุมานหยี่ (ภาพโดยสถานีข่าว NHK) BUQkP2rCcAAl89m
  • 10:00 พายุมานหยี่ เคลื่อนใกล้โตเกียว ทิศทางอาจจะผ่านฟุกุชิมา ทางญี่ปุ่นระวังเต็มที่ Manyi-20130916-1000
  • 07:15 KHO จับตามีหย่อมความกดอากาศต่ำ (LPA) หย่อมใหม่เกิดในทะเลจีนใต้ แนวโน้มพัฒนาแรงขึ้น ตัวนี้ทาง JMA ให้เป็นดีเปรสชันแล้ว (TD)
  • 07:00 จากแผนที่อากาศของกรมอุตุญี่ปุ่น (JMA) มีการปรากฏของดีเปรสชันใหม่ ในทะเลฟิลิปปินส์และทะเลจีนใต้แห่งละ 1 ลูก JMA-WXMAP-20130916-0700
  • 07:00 พายุโซนร้อนม่านหยี่ ขึ้นฝั่งญี่ปุ่นที่เมืองชิซุโอะกะในช่วงเช้ามืดที่ผ่านมา ด้วยความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 60 น็อต 
  • 06:00 แผนผังสถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา BURkTfxCYAA6_8P
  • 05:30 JTWC จับตาหย่อมความกดอากาศต่ำเกิดใหม่ 98W และ 99W ขณะที่พายุมานหยี่เคลื่อนขึ้นฝั่งญี่ปุ่นเมื่อช่วงเช้ามืดที่ผ่านมา 
  • กระแสน้ำป่าจากลำน้ำพุง ใน อ.ด่านซ้าย จ.เลย ไหลเข้าสู่แม่น้ำป่าสัก ส่งผลให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ตำบลวัดป่า ตำบลตาลเดี่ยว ตำบลสักหลง ตำบลห้วยไร่ ใน อ.หล่มสัก เขตเทศบาลเมืองหล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ พื้นที่บางแห่งระดับน้ำสูงถึงเกือบ 2 เมตร
  • ภูเขาไฟซินาบัง อินโดนีเซีย ปะทุรอบใหม่ อพยพหลายพันคน
  • ระดับน้ำในเขื่อนสิริกิต์ เริ่มเพิ่มสูงขึ้น น่าจะมีการเก็บกักเพื่อแก้ภัยแล้ง 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ รัฐนิวแม็กซิโก ที่ความลึก 1.30 กม.
  • เมื่อ 23.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 97.70 กม.
  • เมื่อ 22.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 37.00 กม.
  • เมื่อ 22.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ประเทศกรีซ ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 21.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศกรีซ ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 21.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ รัฐเนวาดา ที่ความลึก 5.50 กม.
  • เมื่อ 20.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ หมู่เกาะโบนิน ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 26.60 กม.
  • เมื่อ 18.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 33.70 กม.
  • เมื่อ 18.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 16.00 กม.
  • เมื่อ 14.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะเคอมาเดค ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 152.10 กม.
  • เมื่อ 14.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 19.50 กม.
  • เมื่อ 12.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 105.00 กม.
  • เมื่อ 12.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ La Paz ประเทศโบลีเวีย ที่ความลึก 226.70 กม.
  • เมื่อ 12.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 42.00 กม.
  • เมื่อ 11.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 155.50 กม.
  • เมื่อ 10.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Chagos Archipelago ที่ความลึก 9.70 กม.
  • เมื่อ 07.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 159.60 กม.
  • เมื่อ 07.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 22.20 กม.
  • เมื่อ 07.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 515.20 กม.
  • เมื่อ 06.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ หมู่เกาะโบนิน ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 444.00 กม.
  • เมื่อ 06.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 68.00 กม.
  • เมื่อ 05.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 23.30 กม.
  • มื่อ 04.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Minahasa เกาะสุลาเวสี, ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 119.90 กม.
  • เมื่อ 02.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 251.20 กม.
  • เมื่อ 01.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 43.00 กม.
  • เมื่อ 01.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 00.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 1.20 กม.
  • เมื่อ 00.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 7.60 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 4 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุโทราจี ที่ญี่ปุ่น สลายตัวแล้ว twnew-090413-2200
  • 13.27แผ่นดินไหวขนาด 6.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 32.80 กม.
  • 09.32 แผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 39.90 กม.
  • 07.18 แผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ หมู่เกาะไอซุ ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 404.80 กม. เกิดลึกเกินระดับที่จะก่ออันตรายใดๆได้
  • 07:00 กลุ่มพายุและหย่อมความกดอากาศต่ำในแปซิฟิคตะวันตกขณะนี้ twnew-040913
  • 06:00 พายุโซนร้อนโทราจี เคลื่อนเข้าประชิดฝั่งเกาะคิวชูแล้วในเวลานี้ ทิศทางพายุยังมีแนวโน้ม มุ่งตรงไปทางโตเกียว 201315W
  • 03.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 1.00 กม. เปลือกโลกเคลื่อนตัวในแนวนอน สำหรับแผ่นดินไหวในทะเลเป็นผลดีเพราะจะไม่ก่อให้เกิดสึนามิM6.0 - 191km WSW of Bella Bella, Canada 2013-09-03 20 19 06 UTC
  • 02:00 ทุ่นเตือนสึนามิของไทย (23401) นอกชายฝั่งภูเก็ต ตำแหน่ง 8.905°N 88.540°E หยุดส่งสัญญาณมาตั้งแต่ 21 ส.ค.56 (ใช้สัญญาณจาก ทุ่น 23227 ของอินเดีย ทางตะวันตกของภูเก็ต ตำแหน่ง 6.255°N 88.792°E แทน)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • ยังไม่มีเหตุการณ์

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 27.80 กม.
  • เมื่อ 23.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 76.70 กม.
  • เมื่อ 22.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 21.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.90 กม.
  • เมื่อ 19.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Cook Strait ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 20.30 กม.
  • เมื่อ 18.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Unimak Island อลาสกา ที่ความลึก 36.50 กม.
  • เมื่อ 17.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Unimak Island อลาสกา ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 10.70 กม.
  • เมื่อ 16.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ นอกชายฝั่ง ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 19.10 กม.
  • เมื่อ 16.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 24.30 กม.
  • เมื่อ 16.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 163.90 กม.
  • เมื่อ 15.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 28.60 กม.
  • เมื่อ 14.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 50.80 กม.
  • เมื่อ 13.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 41.60 กม.
  • เมื่อ 13.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.20 กม.
  • เมื่อ 12.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 469.60 กม.
  • เมื่อ 12.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งของ Nicaragua ที่ความลึก 31.70 กม.
  • เมื่อ 12.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 44.80 กม.
  • เมื่อ 11.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 11.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.80 กม.
  • เมื่อ 11.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 34.60 กม.
  • เมื่อ 11.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 13.30 กม.
  • เมื่อ 09.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 13.70 กม.
  • เมื่อ 07.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 49.10 กม.
  • เมื่อ 07.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 7.60 กม.
  • เมื่อ 07.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 07.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 20.60 กม.
  • เมื่อ 07.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ หมู่เกาะไอซุ ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 404.80 กม.
  • เมื่อ 06.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 137.50 กม.
  • เมื่อ 06.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 135.60 กม.
  • เมื่อ 06.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทิศใต้ของ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 10.20 กม.
  • เมื่อ 06.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 05.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 9.80 กม.
  • เมื่อ 05.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Fujian ประเทศจีน ที่ความลึก 15.40 กม.
  • เมื่อ 04.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.20 กม.
  • เมื่อ 04.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.50 กม.
  • เมื่อ 02.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Sumbawa ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 116.00 กม.
  • เมื่อ 02.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศตองกา ที่ความลึก 327.20 กม.
  • เมื่อ 01.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 65.00 กม.
  • เมื่อ 00.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 129.10 กม.
  • เมื่อ 00.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทิศใต้ของ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 41.10 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 4 สิงหาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:20 แผ่นดินไหวขนาด 3.8 ใกล้ชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศพม่า (15.75,95.96) TMD-EQ-20130804
  • 15:00 ฝนหนักน้ำท่วมปากีสถาน ตายแล้ว 45 ราย 
  • 13:00 JTWC จับตาดู LPA หมายเลข  94W ที่ทวีกำลังขึ้นเรื่อยๆ กำลังเคลื่อนตัวไปทางทะเลจีนใต้และทำให้เกิดน้ำท่วมในฟิลิปปินส์อยู่เวลานี้ 
  • 10:28 แผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 53 กม. บาดเจ็บ 2 ราย
  • 09:00 พายุเชบี สลายตัวแล้ว ยอดผู้เสียชีวิต 6 รายบาดเจ็บ 11 รายบ้านหลายร้อยหลังเสียหาย
  • 02:00 พบการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชั้น 08E ทางตะวันตกของแปซิฟิค
  • 01:00 พายุดีเปรสชันเชบี ในจีนและพายุดีเปรสชันที่ก่อตัวใหม่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฟิลิปปินส์ สลายตัวแล้ว ไม่ปราฏในแผนที่อากาศของอุตุนิยมญี่ปุ่น (JMA) ฉบับล่าสุดนี้ 13080403
  • 00:30 อุกกาบาตจากฝนดาวตกเพอซิอิดส์มาถึงโลกแล้ว Petr Horálek ถ่ายภาพอุกกาบาตนี้ได้ในสาธารณรัฐเช็ค (ฉากหลังเป็นทางช้างเผือก) โดยืนยันว่ามองเห็นอุกกาบาตถึง 4 ลูกใน 35 นาที perseid_strip
  • ฝนหนัก-น้ำท่วมทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ ตาย 2 ไร้ที่อยู่ 37,000
  • พายุโซนร้อนเชบีเคลื่อนเข้าเวียดนามวานนี้ ยอดผู้เสียชีวิตล่าสุด 5 ราย ภาพด้านล่างคือสภาพฝนหนักน้ำท่วมในกรุงฮานอย (เครดิตภาพจากชินหัว)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในยุโรป)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 11 มิถุนายน 2556

เหตุกรณ์วันนี้

  • 23:30 กทม.ฝนหยุดตก ปริมาณฝนสูงสุดเขตธนบุรี 102.5 มม.
  • 18:46 ฝนเคลื่อนไปนนทบุรี บางใหญ บางกรวย ตลิ่งชัน วัฒนา
  • 17:00 ภาพจากเรดาร์ กทม
  • 16:40 กทม.ฝนหนักเขตบางซื่อ จตุจักร ลาดพร้าว หลักสี่ บางเขน ดอนเมือง สายไหม ดินแดง ห้วยขวาง วังทองหลาง วัฒนา
  • 16:30 ฝนหนักเขตบางซื่อ จตุจักร ลาดพร้าว หลักสี่ บางเขน ฝนกลางๆ  สายไหม พระประแดง พระโขนง สวนหลวง เริ่มตกเลยเข้าไปในเขตดอนเมือง
  • 16:20 กทม.ฝนหนักเขตบางซื่อ จตุจักร ลาดพร้าว หลักสี่ บางเขน
  • 16:05 พัทยา ฝนตกหนัก ลมแรง
  • 16:00 ประกาศเตือนภัย- ฝนตกหนักและคลื่นลมแรง ฉบับที่ 12 กดอ่าน
  • 14:19 ภาพจากดาวเทียมอินเดีย จะเห็นแนวความกดอากาศสูงที่แผ่ลงมาจากจีน 
  • 13:48 ความกดอากาศสูงขนาด 1008 hPa แผ่ลงมาจากจีนกระทันหัน อากาศในภาคเหนือมีอุณหภูมิลดต่ำลงกลางวันแสกๆ ขณะนี้ที่ลำพูนเหลือ 24.7°C เท่านั้น (ภาพจาก AWS ของกรมอุตุ
  • 13:32 แนวความกดอากาศสูงจากจีนแผ่ลงมา 
  • 13:00 อุณหภูมิเชียงรายเหลือ 26°C ในเวลานี้ / ลำปางเหลือ 24.8 °C 
  • 11:00 ประกาศเตือนภัย- ฝนตกหนักและคลื่นลมแรง ฉบับที่ 11 กดอ่าน
  • 10:32 ภาพดาวเทียมพายุโซนร้อนยางิ ทวีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางขึ้นเป็น 55 น็อต ตำแหน่งล่าสุดเวลานี้ อยู่ทางใต้ของญี่ปุ่น
  • 07:00 ร่องมรสุม (ITCZ) พาดผ่านกลางประเทศ 1 แนว และลมมรสุมจากอันดามันตามฤดู เข้ามาอีก 1 แนว ฝนจะเยอะขึ้นเรื่อยๆทุกภาค ภาคใต้ฝั่งตะวันตกโดนเยอะหน่อย 
  • 06:40 พบทอร์นาโด 1 ลูกกำลังอาละวาดในย่าน Sykesville เมืองแครอล รัฐแมรีแลนด์ เวลานี้
  • 05:32 กลุ่มฝนขนาดใหญ่เคลื่อนตัวจากอ่าวเบงกอลเข้ามาในทะเลอันดามัน 
  • 05:00 พายุโซนร้อนยางิทวีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางจาก 45 เป็น 50 น็อต การคาดการณ์ทิศทางจาก TSR เปลี่ยนไปอีกเล็กน้อย พายุจะหันกลับเมื่อใกล้ถึงญี่ปุ่น 
  • 03:00 ดัชนีชี้ความปั่นป่วนของสนามแม่เหล็กโลกเริ่มกลับสู่สภาพปกติ หลังกระเพื่อมขึ้นไปเพราะถูก CME ขนาดเล็กชนวานนี้ 
  • 02:00 น้ำเริ่มเข้าพื้นที่ทางด้านตะวันตกของกรุงเบอร์ลิน ต้องปิดให้บริการเดินรถไฟจากกรุงเบอร์ลินไปยังเมืองโคโลญจ์ และจากฟรังเฟิร์ตไปอัมสเตอร์ดัม
  • กรุงวอร์ซอว์ ประเทศโปแลนด์เกิดน้ำท่วม หลังจากที่ต้องเผชิญกับฝนตกหนักติดต่อกันเป็นเวลาหลายชั่วโมง
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 21.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ อ่าว แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 10.10 กม.
  • เมื่อ 20.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 559.50 กม.
  • เมื่อ 19.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ ทิศใต้ของ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 34.60 กม.
  • เมื่อ 18.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 215.70 กม.
  • เมื่อ 18.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Kepulauan Talaud ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 66.00 กม.
  • เมื่อ 17.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Sea Okhotsk ที่ความลึก 642.40 กม.
  • เมื่อ 16.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ Antagasta ประเทศชิลี ที่ความลึก 103.70 กม.
  • เมื่อ 15.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 73.00 กม.
  • เมื่อ 12.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 14.00 กม.
  • เมื่อ 09.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทางใต้ของ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 34.80 กม.
  • เมื่อ 07.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Antagasta ประเทศชิลี ที่ความลึก 117.40 กม.
  • เมื่อ 06.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 32.00 กม.
  • เมื่อ 05.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Galapagos Triple Junction ที่ความลึก 19.40 กม.
  • เมื่อ 05.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ประเทศตองกา ที่ความลึก 6.40 กม.
  • เมื่อ 05.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 05.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 39.20 กม.
  • เมื่อ 05.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.8 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 35.40 กม.
  • เมื่อ 02.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 66.00 กม.
  • เมื่อ 01.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 33.00 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 19 เมษายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 13:00 JTWC ไม่พบการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำหือพายุใดๆในแถบอินโดจีนและทางตะวันตกของแปซิฟิค 
  • 10:20 ทุ่น 21419 แสดงค่าระดับน้ำทะเลผิดปกติเล็กน้อย ประมาณ 10 ซม.
  • 10.05 แผ่นดินไหวขนาด 7.2 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 122.30 กม. PTWC ออกเอกสารให้ระวังเฉพาะบูกคลื่นขนาดเล็กในบริเวณใกล้เคียง ตามนี้ 
  • 06:50 ทั่วโลกยังไม่พบการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนทุกชนิด ในทุกมหาสมุทร
  • 02:24 เกิดการปะทุระดับ C6.5 บริเวณจุดดับหมายเลข 1719 ทางซีกตะวันตกของดวงอาทิตย์ มีการปลดปล่อยมวล CME ตามภาพในทิศทางที่ไม่ตรงกับโลก
  • วิเคราะห์ภาพดาวเทียมโดยกรมอุตุ ตีหนี่งตีสี่ / เจ็ดโมง / แปดโมง / เก้าโมง / บ่ายสอง
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • รูปคลื่นแผ่นดินไหวจากสถานีเชียงใหม่ CMMT ชองกรมอุตุ (หยุดทำงานไปในช่วงห้าทุ่มกว่า) สถานี  CHTO-USGS IRIS
  • 19:12 แผ่นดินไหวชนาด 1.7 ลำปาง Q1912

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)