รายงานภัยพิบัติประจำอาทิตย์ที่ 24 มกราคม 2559

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 อุณหภูมิ กทม และ จังหวัดต่างๆในเส้นทางลมหนาวWIND-20150124-2300
  • 22.39 คลองสามวา via @DreamBK CZfvUwHUAAAFQiV
  • 22:19 ดอนเมือง via @nkibkibCZfxjyBVIAAFniU
  • 22:15 บางรัก via @pinyo7637  CZfrGWPUYAAuyuL
  • 22:00 กทม 20.7°C มุกดาหาร 10.8°C อุดร 10°C โคราช 13.6°C หนองคาย 10.9°C เลย 11°C ขอนแก่น 11.8°C เชียงราย 10.6°C เชียงใหม่ 22.4°C ลำปาง 21.5°C
  • 18:02 [GFZ] รายงานแผ่นดินไหวขนาด 5.1 ลึก 10 กม. ในซูดาน
  • 17:30 [USGS] รายงานแผ่นดินไหวขนาด 6.4 ลึก 128 กม. บริเวณทางใต้ของ อลาสก้า ทางศูนย์เฝ้าระวังสึนามิแปซิฟิคหรือ PTWC ออกเอกสารฉบับที่ 1 ไม่เตือนสึนามิM6.4 - 86km WSW of Anchor Point, Alaska
  • 17:00 กทม 24°C เชียงใหม่ 25°C เชียงราย 18°C สกลฯ 11°C อุดร 12°C ร้อยเอ็ด 12°C หนองคาย 13°C น่าน 19°C โคราช 15°C ลำปาง 24°C
  • 18:00 เกิดพายุฤดูร้อนในหมู่ 1,2,3,4,10 ตำบลออนกลาง จ.เชียงใหม่ ลมกระโชกแรง มีลูกเห็บ บ้านเรือนเสียหาย 90 หลังคาเรือน
  • 15:00 กทม 23°C  เชียงราย 20°C  เชียงใหม่ 26°C กาญจน์ 26°C  เลย 16°C  อุดร 13°C ลพบุรี 23°C นครสวรรค์ 24°C หนองคาย 14°C ลำปาง 25°C
  • 14:00 กทม 24°C เชียงราย 24°C มุกดาหาร 11°C นครพนม 11°C สกลฯ 13อ ร้อยเอ็ด 13°C ขอนแก่น 14°C ลำปาง 27°C เชียงใหม่ 32°C กำแพงเพชร 26°C
  • 13:00 กทม 25°C  มุกดาหาร 12°C นครพนม 12°C ขอนแก่น 14°C  อุดร 14°C โคราช 16°C ชัยภูมิ 16°C เลย 17°C หนองคาย 17°C เชียงใหม่ 32°C เชียงราย 27°C พิษณุโลก 26°C ภูเก็ต 33°C ตาก 26°C สุรินทร์ 20°C ลำปาง 28°C หาดใหญ่ 33°C นครสวรรค์ 24°C น่าน 22°C พัทยา 26°C
  • 12:00 กทม 26°C ร้อยเอ็ด 13°C มุกดาหาร 14°C ขอนแก่น 14°C นครพนม 14°C อุดร 16°C เลย 18°C หนองคาย 18°C เชียงใหม่ 31°C เชียงราย 27°C
  • 11:45 ฝนตก กทม แนวริมแม่น้ำทั้งสองฝั่ง และฝั่งพระนครชั้นใน
  • 07:20 อากาศหนาวจัดติดลบหลายองศา ปกคลุมตั้งแต่รัสเซีย มองโกเลีย ไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ข้ามไปเกาหลีและญี่ปุ่น อุณหูมิในกรุงโซล -18°C (ต่ำสุดในรอบ 15 ปี) ฮ่องกง 3.1°C (ต่ำสุดในรอบ 60 ปี ) ทางเวียดนาม มีหิมะตกที่ยอดเขาในซาปาซึ่งอุณหูมิลดเหลือ -2°C ส่วนในจีน โดยเฉพาะในกวางโจวเกิดหิมะตกเป็นครั้งแรกตั้งแต่ 1929 ทางญี่ปุ่น มีเสียชีวิตแล้ว 5 รายบาดเจ็บ 100+ จากอุบัติเหตุถนน ไต้หวันเสียชีวิต 36 รายจากไฮโปเธอร์เมีย

    WIND-20160124-0700
  • 07:10 เครื่องของสายการบินเจ็ตบลู จมหิมะในสนามบิน JFK จากพายุฤดูหนาวโจนาส ซึ่งติดอันดับหนึ่งในพายุฤดูหนาวที่รุนแรงที่สุดในรอบหลายปี เข้าถล่มสหรัฐฯCZcfHqBUMAEO465
  • 07:00 กทม 25°C ร้อยเอ็ด 13°C เชียงราย 20°C เชียงใหม่  20°C มุกดาหาร ลำปาง 20°C เลย 18°C นครพนม 16°C มุกดาหาร 16°C อุดร 17°C
  • 06:50 สภาพเซ็นทรัลพาร์ก ในมหานครนิวหยวก ท่ามกลางพายุฤดูหนาว ที่รุนแรงสุดในรอบหลายปี CZcGR9rUsAAko7t
  • 05:00 พบฝนตกใน จ.นครนายก จ.สระบุรี
    image
  • 01:00 ปักกิ่ง -15°C กวางเจา 4°C หนานหนิง 5°C คุนหมิง -4 °C ลมเย็นจากจีนเคลื่อนเข้าไทยทางจังหวัดมุกดาหาร ไม่ใช่ทางภาคเหนือWIND-20160124-0100
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT จ.เชียงใหม่ ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้wave_CMMT-230116

สรุปรายการแผ่นดินไหวจาก Geogon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 27 กรกฏาคม 2558

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 กทม.ฝนอ่อนปกคลุมทั่วพื้นที่ แนวโน้มลดลง
  • 15:00 ฝนปานกลางปกคลุมพื้นที่เขตดินแดง ห้วยขวาง วังทองหลาง บางกะปิ บึงกุ่ม คันนายาว คลองสามวา พื้นที่อื่นลักษณะเป็นฝนอ่อนปกคลุมพื้นที่แนวริมแม่น้ำ และพื้นที่ฝั่งธนบุรีทั้งหมด กลุ่มฝนเคลื่อนไปเเขตหนองจอก แนวฌน้มคงที่ ปริมาณฝนสูงสุดเขตภาษีเจริญ 38.0 มม
  • 14:45 ฝนปานกลางปกคลุมพื้นที่ กทม.เกือบทั้งหมด กำลังเคลื่อนตัวเข้าเขตคลองสามวา มีนบุรี หนองจอก ประเวศ ลาดกระบัง
  • 14:00 ฝนอ่อนถึงปานกลาง อ.เมืองสมุทรสาคร อ.กระทุ่มแบน อ.สามพราน บางส่วนเขตหนองแขม บางแค ทวีวัฒนา เคลื่อนตัวเขตจอมทอง ภาษีเจริญและ กทม ชั้นในCK56Zv5VEAAv6tC
  • 11:55 PTWC ออกประกาศฉบับที่ 1 ไม่เตือนการเกิดสึนามิ
  • 11:50 ทุ่นสึนามิหมายเลข 46408 ใกล้อลาสกา แสดงความผิดปกติของระดับน้ำทะเล 8 ซม. ในคาบ 15 วินาที46408-20150727
  • 11:49 [Geofon] รายงานการเกิดแผ่นดินไหว แมกนิจูด 6.7 บริเวณ FOX ISLANDS หมู่เกาะอลูเชียน ที่ความลึก 10 กม.gfz2015ooos
  • 06:00 JMA ประกาศการสลายตัวของดีเปรสชันฮาโลลาแล้ว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้wave_CMMT-260715

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 พฤศจิกายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:12 ดีเปรสชันโซไรดา (ใช้ชื่อของ PAGASA เรียกไปก่อน เพราะ JTWC ยังไม่ระบุการก่อตัว) มาถึงช่วงกลางทะเลจีนใต้ ทิศทางมุ่งมาทางตอนใต้ของเวียดนาม
  • 16:30 อดีตพายุดีเปรสชัน 30W (PAGASA เรียกพายุลูกนี้ว่า วิลมา) ที่เคยถล่มเพชรบุรี-หัวหิน เมื่อ 8 พ.ย. แล้วสลายตัวไปอยู่อันดามัน ตอนนี้ทวีกำลังขึ้นเป็นดีเปรสชันอีกครั้งแล้ว โดยได้ชื่อเรียกจากอุตุฯอินเดียว่า BOB05
  • 15:15 ยอดตายจากไห่เยี่ยนในจีน (ไหหนาน+กวางสี) รวมประมาณ 10 ราย
  • 15:00 ฝนตก เขตคลองสามวา มีนบุรี ลาดกระบัง หนองจอก  อ.ปากเกร็ด เมืองนนทบุรี อ.สามโคก อ.ลาดหลุมแก้ว เมืองปทุมธานี
  • 13:05 ฝนตกน้ำท่วมขังถนนปู่เจ้าฯ (ภาพโดย @iBeer_1983)BY7geXTCMAAfYTi
  • 12:57 หาดใหญ่ฝนตก
  • 12:30 ภาพจากเรดาร์ของสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร แสดงกลุ่มฝนใน กทม เวลานี้  BKKRain20131113-1230
  • 11:30 ฝนตกแล้วหยุด หลายเขตใน กทม / โคราช ฝนนี้มาจากความกดสูงที่แผ่ลงมาจากจีนมาปะทะความกดต่ำในไทย มีฟ้าคะนองประกอบด้วย
  • 11:12 ดีเปรสชันโซไรดา ทวีกำลังขึ้นหลังเคลื่อนลงสู่ทะเลจีนใต้ ทาง JTWC ยังคงไม่ประกาศการก่อตัวของพายุลูกนี้ ทิศทางเคลื่อนมาขึ้นฝั่งตอนใต้ของเวียดนาม 
  • 11:10 มีฝนตกบางรัก สุขุมวิท แยกรามคำแหง ถ.พระราม9
  • 11:00 อุตุฯออกประกาศเตือนภัย- พายุดีเปรสชันในทะเลจีนใต้ ฉบับที่ 2 กดอ่าน
  • เมื่อ 10.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ลึก 4 กม. บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา M61
  • 06:30 ภาพชายฝั่งทะเลเมืองทาโคลบาน ของฟิลิปปินส์ ก่อนและหลังโดนมหาพายุถล่ม (เครดิตภาพ wsj.com) wsjtn

RC

  • 04:00 JMA ยังติดตามทิศทางดีเปรสชันโซไรดา ที่กำลังตรงมาหาเรา พิกัดล่าสุด N9°25′ E121° 
  • 02:00 ภูเก็ต ฝนตกหนัก ฟ้าร้องเสียงดัง
  • 01:00 ยอดตายล่าสุดจากมหาพายุไห่เยี่ยนในฟิลิปปินส์ โดย NDRRMC  1,798 ราย บาดเจ็บ  2,582 สูญหาย  82 ราย
  • 00:13 ไห่เยี่ยนสลายตัวแล้ว อากาศเย็นจากจีนจะลงมาให้ชาวเหนือและอีสานตอนบนชื่นใจซัก 2-3 วัน จากนั้นรอเจอฝนจากโซไรดาที่กำลังเคลื่อนออกจากฟิลิปปินส์ลงทะเลจีนใต้ตามภาพ ทางภูเก็ต พังงา กระบี่ มีกลุ่มฝนจากหย่อมความกดต่ำในอันดามัน พัทยา ศรีราชา มีฝน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 4 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุโทราจี ที่ญี่ปุ่น สลายตัวแล้ว twnew-090413-2200
  • 13.27แผ่นดินไหวขนาด 6.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 32.80 กม.
  • 09.32 แผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 39.90 กม.
  • 07.18 แผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ หมู่เกาะไอซุ ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 404.80 กม. เกิดลึกเกินระดับที่จะก่ออันตรายใดๆได้
  • 07:00 กลุ่มพายุและหย่อมความกดอากาศต่ำในแปซิฟิคตะวันตกขณะนี้ twnew-040913
  • 06:00 พายุโซนร้อนโทราจี เคลื่อนเข้าประชิดฝั่งเกาะคิวชูแล้วในเวลานี้ ทิศทางพายุยังมีแนวโน้ม มุ่งตรงไปทางโตเกียว 201315W
  • 03.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 1.00 กม. เปลือกโลกเคลื่อนตัวในแนวนอน สำหรับแผ่นดินไหวในทะเลเป็นผลดีเพราะจะไม่ก่อให้เกิดสึนามิM6.0 - 191km WSW of Bella Bella, Canada 2013-09-03 20 19 06 UTC
  • 02:00 ทุ่นเตือนสึนามิของไทย (23401) นอกชายฝั่งภูเก็ต ตำแหน่ง 8.905°N 88.540°E หยุดส่งสัญญาณมาตั้งแต่ 21 ส.ค.56 (ใช้สัญญาณจาก ทุ่น 23227 ของอินเดีย ทางตะวันตกของภูเก็ต ตำแหน่ง 6.255°N 88.792°E แทน)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • ยังไม่มีเหตุการณ์

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 27.80 กม.
  • เมื่อ 23.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 76.70 กม.
  • เมื่อ 22.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 21.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.90 กม.
  • เมื่อ 19.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Cook Strait ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 20.30 กม.
  • เมื่อ 18.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Unimak Island อลาสกา ที่ความลึก 36.50 กม.
  • เมื่อ 17.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Unimak Island อลาสกา ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 10.70 กม.
  • เมื่อ 16.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ นอกชายฝั่ง ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 19.10 กม.
  • เมื่อ 16.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 24.30 กม.
  • เมื่อ 16.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 163.90 กม.
  • เมื่อ 15.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 28.60 กม.
  • เมื่อ 14.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 50.80 กม.
  • เมื่อ 13.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 41.60 กม.
  • เมื่อ 13.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.20 กม.
  • เมื่อ 12.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 469.60 กม.
  • เมื่อ 12.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งของ Nicaragua ที่ความลึก 31.70 กม.
  • เมื่อ 12.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 44.80 กม.
  • เมื่อ 11.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 11.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.80 กม.
  • เมื่อ 11.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 34.60 กม.
  • เมื่อ 11.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 13.30 กม.
  • เมื่อ 09.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 13.70 กม.
  • เมื่อ 07.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 49.10 กม.
  • เมื่อ 07.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 7.60 กม.
  • เมื่อ 07.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 07.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 20.60 กม.
  • เมื่อ 07.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ หมู่เกาะไอซุ ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 404.80 กม.
  • เมื่อ 06.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 137.50 กม.
  • เมื่อ 06.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 135.60 กม.
  • เมื่อ 06.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทิศใต้ของ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 10.20 กม.
  • เมื่อ 06.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 05.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 9.80 กม.
  • เมื่อ 05.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Fujian ประเทศจีน ที่ความลึก 15.40 กม.
  • เมื่อ 04.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.20 กม.
  • เมื่อ 04.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Queen Charlotte Islands ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.50 กม.
  • เมื่อ 02.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Sumbawa ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 116.00 กม.
  • เมื่อ 02.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศตองกา ที่ความลึก 327.20 กม.
  • เมื่อ 01.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 65.00 กม.
  • เมื่อ 00.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 129.10 กม.
  • เมื่อ 00.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทิศใต้ของ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 41.10 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 30 สิงหาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด Mw6.8  บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 34.50 กม. gfz2013qzot
  • 17:40 กทม.ฝนปานกลาง-หนักเขตทวีวัฒนา ตลิ่งชัน บางแค ภาษีเจริญ บางกอกน้อย บางพลัด บางกอกใหญ่ ธนบุรี คลองสาน จอมทองบางซื่อ ดุสิต
  • 09:00  TSR ประเมินเส้นทางพายุกองเรยในอีก 36 ชม ข้างหน้า จะขึ้นฝั่งที่เกาะคิวชู ผ่านนางาซากิ 201314W_3
  • 06:45 NWS ยืนยันการพบพายุทอร์นาโดขนาดใหญ่ ห่างไป 12 กม. ทางทิศ ESE ของเมืองรีเมอร์ รัฐมิเนโซตา เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 45 กม/ชม คนไทยที่นั่นโปรดระวัง
  • 04:45 พายุโซนร้อนกองเรยเคลื่อนออกจากไต้หวันตรงสู่ญี่ปุน คาดว่าจะขึ้นฝั่งทางใต้ของญี่ปุ่นช่วงดึกของวันที่ 31 ส.ค. นี้ 
  • ทุ่นเตือนสึนามิของไทย (23401) นอกชายฝั่งภูเก็ต ตำแหน่ง 8.905°N 88.540°E หยุดส่งสัญญาณมาตั้งแต่ 21 ส.ค.56 (ใช้สัญญาณจาก ทุ่น 23227 ของอินเดีย ทางตะวันตกของภูเก็ต ตำแหน่ง 6.255°N 88.792°E แทน)
    23401-300813
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 18.80 กม.
  • เมื่อ 23.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 9.00 กม.
  • เมื่อ 23.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 27.40 กม.
  • เมื่อ 23.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 26.00 กม.
  • เมื่อ 23.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.70 กม.
  • เมื่อ 23.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 33.00 กม.
  • เมื่อ 23.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 38.90 กม.
  • เมื่อ 20.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ประเทศวานูอาตู ที่ความลึก 121.30 กม.
  • เมื่อ 20.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 63.00 กม.
  • เมื่อ 20.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 6.20 กม.
  • เมื่อ 19.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 592.40 กม.
  • เมื่อ 19.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่กาะแซนวิซ ที่ความลึก 93.80 กม.
  • เมื่อ 18.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ประเทศวานูอาตู ที่ความลึก 35.50 กม.
  • เมื่อ 18.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 72.90 กม.
  • เมื่อ 17.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ Libertador General Bernardo O’Higgins ประเทศชิลี ที่ความลึก 90.00 กม.
  • เมื่อ 17.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ นอกชายฝั่ง ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 18.60 กม.
  • เมื่อ 15.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งทางใต้ของ ทางตะวันตกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 26.80 กม.
  • เมื่อ 12.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ทางเหนือของ มณฑลซินเจียง ประเทศจีน ที่ความลึก 27.70 กม.
  • เมื่อ 11.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 17.00 กม.
  • เมื่อ 11.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ เกาะสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 207.10 กม.
  • เมื่อ 09.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.8 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 202.50 กม.
  • เมื่อ 08.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 25.00 กม.
  • เมื่อ 07.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 55.00 กม.
  • เมื่อ 06.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 06.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 5.90 กม.
  • เมื่อ 05.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 34.20 กม.
  • เมื่อ 04.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 109.20 กม.
  • เมื่อ 03.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ Long Valley area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 8.20 กม.
  • เมื่อ 01.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 33.00 กม.
  • เมื่อ 01.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 76.80 กม.
  • เมื่อ 00.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 3.10 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 5 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

[stextbox id=”info”]เส้นทางพายุจะเปลี่ยนทุก 3-6 ชั่วโมง โปรดติดตามข้อมูลบ่อยๆ อย่าปักใจเชื่อว่าจะมีเส้นทางตามเดิมตลอดไป[/stextbox]

  • 22:00 พายุโซนร้อนโซนามุ ทวีความเร็วลมขึ้นจาก 40 เป็น 45 น็อต และทิศทางพายุล่าสุดจาก TSR พายุจะหันหัวออก ไม่ขึ้นฝั่งไทย หรือมาเลเซีย 
  • 18:40 พายุโซนร้อนโซนามุ เคลื่อนออกมาทางตะวันตกอีกเล็กน้อย แนวทางเดินพายุปรับล่าสุดจากทาง TSR ยังคงไปขึ้นฝั่งที่นราธิวาส 
  • 17:58 WCATWC ยกเลิกการเฝ้าระวังสึนามิทั้งหมดแล้ว ตามเอกสารนี้
  • 17:08 USGS ปรับลดขนาดแผ่นดินไหวที่อลาสกาจาก 7.7->7.5
  • 17:01 WCATWC ออกประกาศเตือนสึนามิบริเวณบริติซโคลัมเบีย ตามเอกสารนี้
  • 16:55 คลื่น Body Wave จากแผ่นดินไหวที่อลาสกา เดินทางมาถึงสถานีวัด CHTO ของ IRIS ที่เชียงใหม่ 
  • 16:50 เกิดการปะทุขนาด M1.7 บนดวงอาทิตย์ จากจุดดับใหม่ล่าสุดหมายเลข 1650 ทิศทางไม่ตรงกับโลก (บางสถานีบันทึกได้เวลา 16:34)
  • 16:46 PTWC ออกเอกสารเตือนไปที่ฮาวาย กดอ่าน ระดับของสึนามิที่เกิดจะไม่แตกต่างจากความสูงปกติของน้ำทะเล
  • 16:43 PTWC ออกเอกสารเตือนสึนามิแปซิฟิกฉบับที่ 2 กดอ่าน ระบุว่ามีสึนามิเกิดขึ้นแล้วหลังจากพบระดับน้ำทะเลผิดปกติเล็กน้อยจากทุ่น DART เช่นหมายเลข 46410  โดยเอกสารได้เตือนไปที่ชายฝั่งใกล้เคียงให้ระวังคลื่นขนาดเล็ก  ขนาดราว 13 ซม. อย่างไรก็ตาม เอกสารนี้ไม่หมายรวมไปถึงคลื่นสึนามิขนาดใหญ่ (เมเจอร์) ใดๆ
  • 15.58 แผ่นดินไหวขนาด 7.7 บริเวณ ทิศใต้ของทางตะวันออกของ อลาสกา ที่ความลึก 9.60 กม. เบื้องต้น PTWC ไม่เตือนสึนามิ ตามเอกสารนี้ 
  • 10:30 พายุโซนร้อนโซนามู ทวีความเร็วลมขึ้นเป็น 40 น็อต ทิศทางเปลี่ยนไปเล็กน้อย โดยทาง TSR คาดการล่าสุดว่าอาจจะเข้านราธิวาสในสภาพดีเปรสชัน
  • 10:00 โมเดลเส้นทางพายุจากอุตุฯญี่ปุ่น JMA (อุตุไทยมักใช้ข้อมูลจากที่นี่) คาดว่าพายุโซนร้อนโซนามุจะไปถึงมาเลเซียในวันที่ 8  (เวลาดูโมเดลพายุ เส้นประวงๆที่เห็นคือ “ความเป็นไปได้” ที่พายุจะเปลี่ยนทางไป ไม่ใช่ขนาดของพายุ โปรดระวังการใช้งาน
[stextbox id=”info”]ลำดับการพัฒนาของพายุหมุนเขตร้อน เรียงจากความเร็วลม เบาไปแรง ดังนี้ 1.หย่อมความกดอากาศต่ำ -> 2.พายุดีเปรสชัน -> 3.พายุโซนร้อน -> 4.พายุไต้ฝุ่นหรือไซโคลนหรือเฮอริเคนแล้วแต่เกิดโซนไหนของโลก[/stextbox]
  • 07:00 กรุงเทพ 23°C จันทบุรี 21°C สุราษฎ์ 23°C เชียงใหม่ 20°C ชัยภูมิ 20°C พะเยา 19°C  อุบล 18°C สกลนคร 17°C ขอนแก่น 17°C ลำปาง 17°C แพร่ 17°C แม่ฮ่องสอน 17°C เลย 16°C มุกดาหาร 16°C นครพนม 15°C
  • 06:45 ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาต่ำ ความเร็วลมสุริยะ 341  km/sec สนามแม่เหล็กโลกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • 05:30 พายุโซนร้อนโซนามุ หันลงใต้เล็กน้อย ตำแหน่งล่าสุดอยู่เกือบกลางทะเลจีนใต้ ทิศทางยังคงมุ่งไปที่ประเทศมาเลเซีย 
  • 04:00 พายุไซโคลนดูไมล์ที่เกาะมาดากัสกา ลดความเร็วลมลงเป็นพายุโซนร้อน 
  • นราธิวาส – ปริมาณน้ำฝนที่ตกสะสมในพื้นที่ 13 อำเภอ ส่งผลให้ระดับน้ำในแม่น้ำ 3 สายหลักมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยที่แม่น้ำโก-ลก ซึ่งรับน้ำป่ามาจากคลองบูเก๊ะตา อ.แว้ง ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 1.50 เมตร ทำให้ขณะนี้ประชาชนในชุมชนท่าก่อไผ่ ชุมชนหัวสะพาน และชุมชนบ้านบือเร็ง จำนวน 8 ครัวเรือน รวม 32 คน ต้องอพยพไปอาศัยอยู่ที่ศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยโรงเรียนเทศบาล 4 เป็นการชั่วคราว
  • บราซิล– มีผู้เสียชีวิต 2 ราย ไร้ที่อยู่อาศัยหลายร้อยคนจากฝนที่ตกหนักมากในหลายวันที่ผ่านมา
  • ออสเตรเลีย – มีผู้เสียชีวิต 1 รายจากไฟป่าในเขตทาสมาน 
  • ภาพผิวดวงอาทิตย์ EUVI/AIA ในช่วงแสง 195A แสดงกลุ่มของจุดดับในด้านหน้าของดวงอาทิตย์ (ลองติจูด -90 ถึง +90) และด้านหลัง (ลองติจูด +-90 ถึง +-180) ปฏิกิริยาที่มีทิศทางตรงกับโลก (เฉพาะพวกที่เดินทางด้วยความเร็วแสง) จะอยู่ในช่วงลองติจูด -30 ถึง +30 (ในจุดดับ 1 หมายเลขจะมีจุดดับย่อยๆตั้งแต่ 1 ถึงหลายสิบจุด) ปฏิกิริยาอื่นในส่วนของ CME ให้ระวังจุดดับด้านซ้ายของภาพมากกว่าด้านขวา เนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์
  • ระดับน้ำในแม่น้ำโขงที่จังหวัดหนองคายลดต่ำ ทำให้มองเห็นฐานขององค์พระธาตุกลางน้ำแล้วเกือบ 2 เมตร

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

[stextbox id=”info”]มาตราริกเตอร์ เป็นหนึ่งในหลายๆมาตราที่ใช้วัดแผ่นดินไหว แต่ไม่ใช่หน่วยแบบกิโลกรัมหรือเมตร การพูดว่า 4.5 ริกเตอร์ หรือ 5 ริกเตอร์ เป็นการพูดที่ผิด เราควรใช้คำว่า แผ่นดินไหวขนาด 4 ตามมาตราริกเตอร์ วิธีเขียนคววรเขียน แผ่นดินไหวขนาด 4.5 หรือ M4.5 เฉยๆถ้าไม่แน่ใจว่าขณะนั้นอ้างมาตราไหน[/stextbox]

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 พฤจิกายน 2555

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:50 กราฟจากเครื่องวัดแผ่นดินไหวเชียงใหม่ในเครือข่ายของ USGS แสดงผลคล้ายกัน 
  • 23:30 กราฟจากเครื่องวัดแผ่นดินไหวเชียงใหม่ของกรมอุตุวันนี้ รับแรงสะเทือนจากแผ่นดินไหวพม่าหลายครั้ง
    image
  • 22:00 JTWC ยกระดับ 96W เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงแล้ว 
  • 19:00 ยอดตายแผ่นดินไหวพม่าล่าสุดที่ 26 ศพ บาดเจ็บ 231 ราย (ภาพจาก AFP) 
  • 15:00 เหตุน้ำท่วมอิตาลีจากฝนที่ตกหนัก มีผู้เสียชีวิต 3 ราย
  • 13:00 TMD ยังไม่ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W เป็นดีเปรสชัน
  • 13:00 JTWC ให้น้ำหนัก 96W เพียงแค่หย่อมความกดอากาศต่ำกำลัง “ปานกลาง” เท่านั้น 
  • 12:00 อุตุนิยมเวียดนาม ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน TD25W จากหย่อมความกดต่ำ 96W  ( JMA TSR JTWC  และ อุตุฮ่องกง ยังไม่ประกาศการก่อตัวของพายุนี้) 
  • 11.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 บริเวณ นอกชายฝั่งของ Aisen ประเทศชิลี ที่ความลึก 9.70 กม.
  • 05:30 มีอาฟเตอร์ช็อคอีกหลายครั้งหลังแผ่นดินไหวรุนแรงในอ่าวอลาสกา 
  • 04:00 ทุ่นสึนามิ ทางใต้ของจุดที่เกิดแผ่นดินไหวแสดงค่าน้ำทะเลผิดปกติ 
  • 03.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4 บริเวณ อ่าว อลาสกา ที่ความลึก 55.20 กม. PTWC มีเอกสารออกมาแต่ไม่เตือนสึนามิ ตามนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • 20:49 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (22.25,96.34) ขนาด 3.8 ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 362 กม.
  • 20:11 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (22.60,96.50) ขนาด 4.6 ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 387 กม.
  • 15:42 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (22.87,96.46) ขนาด 5.0  ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 416 กม.
  • 15:36 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (22.61,96.27) ขนาด 5.2 ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 400 กม.
  • 13:27 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (22.25,96.32) ขนาด 4.9
  • 13:18 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (23.37,95.89) ขนาด 3.5
  • 08:52 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (19.27,96.10) ขนาด 5.2  ห่าง อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 196 กม. [ไม่มีข้อมูลความลึกตามเคย โชคดีได้ข้อมูลจาก USGS ความลึกคือ 18.2 กม. แต่ทางนั้นวัดแรงได้แมกนิจูด 4.8 เท่านั้น)

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

บทความ-เหตุการณ์สึนามิ อะลูเชียน วันที่ 1 เมษายน 1946

เมื่อราว 65 ปี ที่แล้ว ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1946 (พ.ศ.2489) ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด แมกนิจูด 7.5 ขึ้นแถบชายฝั่งอาลาสกา และได้ก่อทำให้เกิดคลื่นสึนามิ  ซึ่งเรารู้จักกันในชื่อของการเกิดสึนามิจากหมู่เกาะอะลูเชี่ยน ซึ่งมีผลทำให้ตึกประภาคารบนเกาะยูนิแมกที่ชายฝั่งอาลาสก้าซึ่งมีความสูงถึง 135 ฟุต ได้ถูกทำลายลงด้วยคลื่นสึนามินี้ รวมทั้ง เจ้าหน้าที่ 5 คน ที่ประจำหน้าที่อยู่ในขณะนั้น ประภาคารหลังนี้สร้างขึ้นด้วยการเสริมคอนกรีตอย่างแน่นหนาแต่ก็ได้ถูกสึนามิทำลายจนราบเรียบถึงฐานราก ตามรูปข้างล่างนี้

ภาพประภาคารก่อนวันที่ 1 เมษายน 1946

สภาพประภาคารหลังถูกคลื่นสึนามิในวันที่ 1 เมษายน 1946

คลื่นสึนามิอะลูเชี่ยนเคลื่อนที่ตรงออกจากจุดกำเนิดที่อาลาสก้าไปสู่เกาะฮาวาย คลื่นลูกแรกได้ไปถึงฮาวายในอีก 5 ชม.ต่อมา ได้เข้าสู่ O’ahu และ เกาะมาอุย


มันได้กวาดชายหาดฮิโร และเมืองต่างๆแถบชายหาดเช่น เมือง Haena ระดับความสูงคลื่นตั้งแต่ 33 ถึง 55 ฟุต

โดยไม่มีการเตือนภัยใดๆเหมือนในปัจจุบัน ทำให้ชาวเกาะฮาวายต้องสังเวยชีวิตไปถึง 170 รายในวันนั้น