รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 9 มกราคม 2557

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:30 สภาพอากาศสหรัฐล่าสุด ส่วนอุณภูมิหนาวจัด หายไปแล้ว อุณภูมิต่ำสุดเวลานี้ -17°C ในมิเนโซตาus_temps_cent_640x480
  • 06:30 กทม 25°C หาดใหญ่ 23°C เชียงใหม่ 15°C ขอนแก่น 19°C พิษณุโลก 20°C แม่ฮ่องสอน 14°C อุบล 19°C อุดร 18°C
  • ระดับของโปรตอนที่เพิ่มขึ้นมากในอวกาศนอกโลก ทำให้ NASA ตัดสินใจเลื่อนส่งยานซิกนัสที่มีกำหนดส่งเมื่อวานนี้

    ภาพเปรียบเทียบจุดขาวของโปรตรอนที่เพิ่มขึ้นจากระดับปกติในภาพด้านซ้ายจากกล้อง Lasco C2

  • กว่า 187 ล้านคนในอเมริกา ยังผจญสภาพหนาวมหากาฬในรอบหลายสิบปี [wpvp_embed type=youtube video_code=hlEkS_MuS8g width=560 height=315]
  •  ดร.เกรกอรี่ เทย์เลอย์ รองผู้อำนวยการสำนักงานสาธารณสุขของแคนาดา เปิดเผยว่า มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้หวัดนก สายพันธุ์ H5N1 จำนวน 1 คน และนับเป็นครั้งแรกที่มีการพบผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคนี้ในแคนาดา และเป็นคนแรกในทวีปอเมริกาเหนือ โดยอาการป่วยได้ปรากฎขึ้นครั้งแรก ตอนที่ผู้เคราะห์ร้ายมีอาการป่วยขณะอยู่บนเที่ยวบินจากกรุงปักกิ่ง ของจีน ไปยังเมืองอัลเบอร์ต้า ของแคนาดา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ก่อนเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เมื่อวันที่ 1 มกราคม และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 3 มกราคม
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 8 มกราคม 2557

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:20 ศูนย์กลางความหนาวจัด (สีม่วง) ในสหรัฐฯ ขยายขนาดขึ้นอีกครั้ง อุณหภูมิต่ำสุดที่มิเนโซตาขณะนี้ -28°C  us_temps_cent_640x480
  • 11:43 ภูเขาไฟซินาบุงในเกาะสุมาตรา ปะทุเขม่าอีกรอบในเวลานี้ 
  • 08:20 ศูนย์กลางความหนาวจัด (สีม่วง) ในสหรัฐฯ ลดขนาดลงเกือบหมดแล้ว อุณหภูมิต่ำสุดที่มิเนโซตาขณะนี้ -22°C us_temps_cent_640x480
  • 02:20 จุดดับขนาดใหญ่หมายเลข 1944 บนดวงอาทิตย์ปะทุขนาด X1.2 เกิด CME ในทิศทางตรงมาหาโลกเรา ประเทศในแถบละติจูดเหนือมีโอกาสได้เห็นแสงออโรราในสองสามวันนี้ ระดับพายุรังสีล่าสุดที่ S2
  • คำอธิบายเรื่องอากาศเย็นผิดปกติเวลานี้ในอเมริกา ปกติ โลกจะทีลมหมุนเย็นเหนือเส้นอาร์คติคที่ขั้วโลก (ผมเรียกลมมงกุฏ) ฝรั่งเรียก Polar Vortex อยู่แล้ว ลมนี้ปกติจะ “ถูกกัก” ไว้ด้วยลมหมุนอีกสายหนึ่ง (เส้นสีดำ) ที่เรียกว่าเจ็ทสตรีม ความผิดปกติระยะแรกคือ (1) ปีนี้ลมเจ็ทสตรีมแรงมาก กักลม Polar Vortex ไว้จนเย็นจัดและหนักมาก โดยในปีอื่นๆนั้น ลมเจ็ทสตรีมไม่แรงเท่านี้ ลม Polar Vortex ก็มีโอกาสหลุดรั่วออกมาบ้าง ไม่อัดอั้น (2) แต่ปีนี้ลมเจ็ทสตรีมแรงและกักไว้ไม่ให้รั่ว สุดท้ายลม Polar Vortex ก็หนักจนดันลมเจ็ทสตรีมให้โค้งลงมา ประกอบกับลมร้อนศูนย์สูตรปีนี้ก็ร้อนมาก ลมร้อนก็พยายามต่อสู้ (3) ผลก็คือส่วนที่โค้งที่ลงมาจาก Polar Votex โดนลมร้อนจากมหามุทร 2 สายดันขึ้น ส่วนโค้งที่เย็นก็โป่ง ลงมาในอเมริกาพอดีBdY8iGsCQAEeEGb
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 2 มกราคม 2557

เหตุการณ์วันนี้

  • 09:00 Peter Rosén ถ่ายภาพแสงเหนือแรกของปีใหม่นี้ (2557) ได้ที่อุทยานแห่งชาติ Abisko ในสวีเดนfirstauroras_strip
  • 08:00 พายุไซโคลน Bejisa ทางตะวันออกของมาดาร์กัสกา ทวีกำลังจากระดับ 2 เป็นระดับ 3 ทิศทางยังไม่เป็นอันตรายกับประเทศใด 
  • 06:30 กทม 19°C หาดใหญ่ 25°C กระบี่ 23°C ลพบุรี 19°C จันทบุรี 18°Cเชียงใหม่ 15°C ลำปาง 14°C อุบล 15°C อุดร 14°C
  • 01:52 เกิดการปะทุขนาด M9.9 จากบริเวณจุดดับหมายเลข 1936 บนดวงอาทิตย์ Bc63_tYCQAAVdKH
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 30 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:30 พายุโซนร้อนเรมอนด์ทางตะวันตกของเม็กซิโก ลดกำลังลงเป็นดีเปรสชัน
  • 15:50 สิงคโปร์ เกิดน้ำท่วมขัง บริเวณสี่แยกถนนไชชี ตัดกับถนนนิวอัปเปอร์ชางงี หลังเกิดฝนตกหนักเมื่อชั่วโมงที่ผ่านมา 
  • 15:47 แม่จัน เชียงราย ฝนตก
  • 15:30 เส้นทางพายุโซนร้อนกรอซา จากสำนักอุตุฯ 6 ประเทศล่าสุด มีเฉพาะ JTWC ของอเมริกาที่ระบุว่าพายุจะขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 11:57 ดีเปรสชันกรอซา ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน มุ่งหน้าไปขึ้นฝั่งฟิลิปปินส์ 
  • 09:51  มีรายงานแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ลึก 10 กม. โดย [GFZ] ส่วนทาง [USGS] วัดได้ 5.6 ลึก 35 กม บริเวณชายฝั่งของ ตอนกลางของ ประเทศชิลี  รอการปรับค่า
  • 06:30 ภาพจากดาวเทียม MTSAT-2 แสดงลักษณะของดีเปรสชันกรอซาในทะเลฟิลิปปินส์เวลานี้ มีการปะเมินจาก JTWC ว่าพายุจะขึ้นฝั่งเวียดนามแถวเมืองวิงห์ แล้วไปสลายตัวแถวรอยต่อประเทศลาวแถว จ.เหง่อาน (Cr.@Medhasith)
  • 05:30 พายุ St.Jude เคลื่อนเข้าถล่มทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัสเซีย หลังสร้างความเสียหายมากมายในยุโรป รวมทั้งอีก 15 ชีวิตในทางผ่านพายุ BXvos9kCcAIuyUc
  • 05:00 ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกคือ พายุโซนร้อนเรมอนด์ทางตะวันตกของเม็กซฺโกและพายุดีเปรสชันกรอซา ในทะเลฟิลิปปินส์ TSR-20131030-0600
  • 04:54 เกิดการลุกจ้าขนาด X2.3 บริเวณจุดดับหมายเลข 1875 บนดวงอาทิตย์oct29_2013_x2.3
  • 00:50 จุดดับ 1882 และ 1885 ที่ปะทุรุนแรงไปวานซืน ขณะนี้กำลังหันหน้าตรงมาทางโลก ซึ่งมีการคาดากรณ์การว่าจะมีการปะทุอีกlatest_strip
  • ขนาดของน้ำแข็งขั้วโลกเหนือที่หดเล็กลง จากมกราคม 1981 ถึงล่าสุด กันยายน 2013 n_plot
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 28 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:50 ยอดตายจากพายุ St.Jude ทื่ถล่มอังกฤษล่าสุด 4 รายtrain_2715209b
  • 21:00 เฮอริเคนเรมอนด์ กลับลำเหมือนจะหันไปทางเม็กซิโกอีกครั้ง 201317E
  • 19:00 ภาพดาวเทียม แสดงพายุยูโรเปียน ชื่อคริสเตียน กำลังขึ้นฝั่งที่อังกฤษ 
  • 19:00 JTWC ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W เป็น High เตรียมประกาศเป็นพายุดีเปรสชัน TD 29W  
  • 15:00 สนามแม่เหล็กโลกยังมีสภาพเป็นปกติ หลังเกิดการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์หลายรอบ 
  • 13:00 JTWC เลื่อนขั้นหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W ในทะเลฟิลิปปินส์เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังปานกลาง ยังไม่ประกาศเป็นดีเปรสชันตาม JMA 
  • 11:41 เกิดการลุกจ้าขนาด M5.1 บริเวณจุดดับ 1875 ที่ขอบตะวันตกบนดวงอาทิตย์ อีกครั้ง
  • 09:03 เกิดการลุกจ้าขนาด X1 บริเวณจุดดับ 1875 ที่ขอบตะวันตกบนดวงอาทิตย์ 
  • 07:30 ทั่วโลกมีพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกในเวลานี้ คือ พายุโซนร้อน 01S ทางตะวันออกของมาดากัสกา และพายุเฮอริเคนเรมอนด์ ทางตะวันตกของเม็กซิโก (TSR ยังไม่ยอมรับดีเปรสชันที่ก่อตัวจาก LPA96W ในทะเลฟิลิปปินส์)
  • 06:00 เขื่อนป่าสักฯลดการระบายไม่ถึง 7 ล้าน ลบม ต่อวัน เพื่อเก็บน้ำใช้หน้าแล้ง โดยน้ำยังเกินความจุปกติถึง 122.71% pskdam-20131028-0600
  • 05:05 เมฆฝนก้อนใหญ่จากพม่าที่คาดว่าจะเข้ามาในภาคเหนือของไทยเมื่อคืน หยุดอยู่แค่ชายแดนแม่ฮ่องสอนหลายชั่วโมงแล้ว 
  • ภูเขาไฟปะทุ 2 วันติด ภาพซ้ายคือภูเขาไฟเอทนา ในอิตาลี ภาพขวาคือภูเขาไฟโปโปในเม็กซิโก http://t.co/tLIw0YNRFm (via @webcamsdemexico)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 24 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:10 พายุโซนร้อนฟรานซิสโก ก่อให้เกิดลมกระโชกแรงวัดได้ 140 กม/ชม บนเกาะมินามิไดโท โอะกินะวะ เมื่อช่วง 1 ชม ที่ผ่านมา
  • 16:05 ฝนตกเขตสาทร บางรัก ตลิ่งชัน คลองสาน ธนบุรี บางกอกใหญ่ บางกอกน้อย บางแค ทวีวัฒนา
  • 16:00 พายุหมุนเขตร้อนทั้ง 4 ลูก เริ่มอ่อนกำลังลง เรมอนด์และฟรานซิโก ลดกำลังเป็นพายุโซนร้อน เลกีม่าอ่อนลงจากไต้ฝุ่นระดับ 5 เหลือระดับ 4 และลอเรนโซอ่อนกำลังเป็นดีเปรสชันTSR-20131024
  • 13:15 มีการปรับเส้นทางพายุฟรานซิสโก จากสำนักอุตุ 6 ประเทศล่าสุด พายุจะไม่ขึ้นฝั่งที่ประเทศญี่ปุ่น แต่จะเคลื่อนเลียบทางใต้ของเกาะฮนชู francisco-20131024-1300
  • 14:30 อินโดฯ อพยพ 3,300 คนหนีการปะทุของภูเขาไฟชินนาบัง
  • 07:30 เกิดการปะทุระดับรุนแรงถึง M9.3 จากบริเวณจุดดับหมายเลข 1877  บนดวงอาทิตย์ รอการยืนยันจากยานสังเกตการว่าจะมี CME ออกมาในแนวของโลกหรือไม่oct24_2013_m9.3b
  • 06:00 ไต้ฝุ่นฟรานซิโก มีตำแหน่งล่าสุดที่่พิกัด N25.1° E129.7° พายุเริ่มส่งผลต่อเกาะโอกินาวา TY26W-20131024-0600
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 22 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00 ตำแหน่งและขนาด-ชนิดของพายุหมุนเขตร้อนทั่วโลกทั้ง 4 ลูกเวลานี้ ฟรานซิสโก เลกีมา เรมอนด์ และลอเรนโซ (ทิศทางของไต้ฝุ่นฟรานซิสโกเบี่ยงออกจากโตเกียวแล้ว) TSR-20131022-1500
  • 07:22 เกิดการปะมุระดับ M1 จากบริเวณจุดดับหมายเลข 1875 บนดวงอาทิตย์ โดยไม่เกิด CME oct22_2013_m1
  • 06:00 เขื่อนป่าสักฯยังคงสะสมน้ำไว้ใช้หน้าแล้งในอัตรากักเก็บที่เกินความจุสูงสุด ตามคำสั่งกรมชล  pskdam-20131022-0600
  • 04:00 พายุดีเปรสชัน 13L กลางมหาสมุทรแอตแลนติค ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า ลอเรนโซ Lorenzo17L
  • 03:30 ฝนหนัก หัวหิน
  • 02:00 พายุโซนร้อนเลกีมา ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นระดับ 1 TSR-20131022-0200
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้  ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 17 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 เขื่อนป่าสักฯยังคงลดการระบายน้ำลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งที่น้ำยังเกินระดับเก็บกักตามปกติอยู่ที่ 121.4% pskdam-20131017-2100
  • 20:00 ไต้ฝุ่นฟรานซิสโก ทวีกำลังจากระดับ 1 ไปเป็นระดับ 2 ประเมินทิศทางว่าจะมุ่งเหนือ ไปใกล้ญี่ปุ่น 
  • 18:00 เขื่อนป่าสักฯปรับอัตราการระบายน้ำล่าสุด น้ำเข้า 20 ล้าน ลบม/วัน ระบายออก 30 ล้าน ลบม/วัน PSKDAM-17OCT13-1800
  • 15:26 ดาวเคราะห์น้อย 2013 RH74 เข้าใกล้โลกที่ระยะ 20.47 LD ในเวลานี้ (LD คือระยะดวงจันทร์)
  • 15:00 โลกในเวลานี้เหลือพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกคือพริสซิลลาทางตะวันตกของเม็กซิโกและฟรานซิสโกแถวเกาะกวม TSR-20131017-1500
  • 14:30 ทางการฟิลิปปินสยังไม่ให้เปิดทำการเรียนการสอนในพื้นที่ๆเกิดแผ่นดินไหว จนกว่าจะมีการตรวจความแข็งแรงของอาคารเรียนก่อน
  • 13:00 ภาพจาก JTWC แสดงตำแหน่งล่าสุด และลักษณะของพายุไต้ฝุ่นฟรานซิสโก หรือ TY26W 
  • 12:30 พายุโซนร้อนฟรานซิสโก ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้วในเวลานี้
  • 12:00 ผลงานไต้ฝุ่นนาริ ในเวียดนามคือ 11 ศพ สูญหาย 5 ราย บ้าน 1.3 หมื่น หลัง อพยพ 1.2 แสนคน philippines_asia_typhoon_nari
  • 11:00 ทางรัสเซียได้กู้ก้อนอุกกาบาต ที่พุ่งเข้าบรรยากาศโลกในแถบเชลยาบินส์ เมื่อ 15 ก.พ. 56 ที่ผ่านมา ขึ้นจากทะเลสาบ Chebarkul แล้ว Russian_Meteor_photo[wpvp_embed type=youtube video_code=xaehWpT7two width=560 height=315]
  • 10:30 เส้นทางพายุฟรานซิสโก จาก 5 สำนัก (รอบนี้ทางฮ่องกงหรือ HKO ไม่ส่งการประเมิน) francisco
  • 09:00 เขื่อนป่าสักฯ ชะลอการระบายน้ำจาก 700 ลบม/วินาที ลงเหลือ 450 ลบม/วินาที pskdam20131017-0900
  • 08:30 จุดที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5+ ในรอบ 7 วันที่ผ่านมาใกล้ประเทศไทย ส่วนใหญ่จับกลุ่มกันแถบฟิลิปปินส์ ยูนนานมี 1 ครั้งที่เหลือจะเป็นสุมาตราและส่วนอื่นของอินโด (เส้นสีแดงในภาพคือรอยเลื่อนใหญ่ วงกลมสีส้มคือภายใน 24 ชม สีเหลืองเกิดนานกว่า 24 ชมแล้ว)USGS7DAY-45-20131017
  • 07:32 ยาน SDO พบหลุมโคโนนา บนดวงอาทิตย์ ผลจากหลุมนี้จะทำให้ลมสุริยะมีความเร็วเพิ่มขึ้นในช่วง 3-5 วันข้างหน้า coronalhole_sdo-20131017-0730
  • 06:16 ภาพดาวเทียม แสดงฝนกลุ่มเล็กที่มีผลกับภาคกลาง ทางขวาคือพายุโซนร้อนฟรานซิโกที่เกาะกวม asiasat-20131017-0616
  • 06:10 ฝนกลุ่มใหญ่เคลื่อนจากนครปฐม เข้ามาตกในกรุงเทพ
  • 06:00 สถาการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ PSKDAM-17OCT13-0600
  • 05:20 อ.สารภี เชียงใหม่ ฝนตกปานกลาง สลับลมแรง
  • 04:45 ฝนตกบางบัวทอง บางใหญ่ ลาดหลุมแก้ว ไทรน้อย พุทธมณฑล กระทุ่มแบน เมืองสมทุรสาคร ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ พระประแดง
  • 00:00 ระดับน้ำคงเหลือในเขื่อนป่าสักฯ เริ่มลดต่ำกว่าระดับเก็บกักสูงสุด คือเหลือ 99.81% ของระดับสูงสุด แต่ยังเป็นปริมาณ 122.07% ของระดับเก็บกักปกติpskdam-20131017-0000
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 ตุลาคม 2556

[stextbox id=”black”]เส้นทางพายุ เป็นของไม่แน่นอน เปลี่ยนทุก 3-6 ชม เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง หลายหน่วยงานจึงคำนวนได้ไม่เหมือนกันสักครั้ง เว็บเราจะเสนอเส้นทางของเกือบทุกหน่วยงานในกรณีพายุเกี่ยวข้องกับไทย เพื่อประกอบการสังเกตและตัดสินใจ ไม่แนะนำให้เชื่อหน่วยงานใดหน่วยงานเดียว และต้องอัพเดทบ่อยๆ[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 ยอดตายจากไซโคลนไพลิน 9 ราย 17  ราย จากอันจเซรา (ภาพจาก AP)  
  • 22:00 ไต้ฝุ่นนารี มาถึงพิกัด N15°20′ E112°20′ 1325-00 (1)
  • 21:00 ไต้ฝุ่นวิภา ทวีกำลังขึ้นเป็นระดับ 4 ทิศทางยังคงตรงไปญี่ปุ่น 
  • 19:30 ไต้ฝุ่นนารี ได้รับการคำนวนเส้นทางพายุใหม่จาก TSR พายุจะสลายตัวบริเวณ จ.มุกดาหาร Nari-20131013-1800
  • 19:00 07:00 ECMWF ออกโมเดลล่าสุด พายุนารีจะไม่เข้าอ่าวตังเกี๋ยโดยตรง แต่จะเข้าชายฝั่งเวียดนามค่อนมาตอนกลางเล็กน้อยWind3285032and32mslp_Asia_24
  • 18:00  เขื่อนป่าสักฯ เพิ่มอัตราระบายไปที่ 738 ลบม/วินาทีPSKDAM-13OCT13-1800
  • 17:00 ไต้ฝุ่นวิภา ทวีกำลังขึ้นเป็นระดับ 3 ทิศทางยังคงตรงไปญี่ปุ่น
  • 16:00 ไพลินในอินเดีย สลายตัวแล้ว
  • 15:20 ฝนตกหนัก ปากน้ำ
  • 15:00 เขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำคงเหลือ 132.32% จากระดับปกติ pskdam-20131013-1500
  • 12:05 ภาพดาวเทียม ลักษณะและตำแหน่งล่าสุดของไต้ฝุ่นนารี ซ้ายมือคือชายฝั่งเวียดนาม 
  • 12:00 เขื่อนป่าสักฯ เพิ่มอัตราการระบายจาก 700 มาเป็น 732 ลบม/วิ น่าจะเป็นเพราะคำสั่งให้รับมือพายุนารี pskdam-20131013-1200
  • 10:17 เส้นทางพายุไต้ฝุ่นนารี จากแบบประเมินของอุตุฮ่องกง หรือ HKO ล่าสุด พายุจะอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำหรือ LPA ในวันที่ 17 ต.ค. แถบจังหวัดกาฬสินธุ์
  • 09:42 ตำแหน่ง ความแรง และเส้นทางของไต้ฝุ่นวิภาและนารี ซึ่งขณะนี้เป็นไต้ฝุ่นระดับ 2 ทั้งคู่ โดยนารีตรงมาทางเวียดนามและวิภาขึ้นไปใต้ญี่ปุ่นจากนั้นจะเลี้ยวออก
  • 08:16 ไต้ฝุ่นนารี เคลื่อนมาถึงกลางทะเลจีนใต้ เมฆฝนบางส่วนก่อให้เกิดฝนตกในเวียดนาม ลาว และหนองคายเช้านี้ TWC20131013-0816
  • 08:14 ไซโคลนไพลิน เริ่มลดกำลังลงอย่างรวดเร็วหลังขึ้นฝั่งอินเดียวานนี้TWC20131013-0814
  • 07:43 เกิดการปะทุระดับ M จากจุดดับหมายเลข 1865 บนดวงอาทิตย์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพายุแม่เหล็กโลกใน 2-4 วันนี้m1_strip
  • 07:00 ECMWF ออกโมเดลมาคล้ายของเดิม คือ พายุนารีจะเข้าอ่าวตังเกี๋ยวันที่ 15 แล้วเคลื่อนไปด้านเหนือในวันที่ 16 จากนั้นสลายตัว ไม่เข้าไทย Wind3285032and32mslp_Asia_48Wind3285032and32mslp_Asia_72
  • 07:00 JMA หรืออุตุนิยมญี่ปุ่น ยังคงประเมินว่าพายุไต้ฝุ่นนารี จะสลายตัวหมดก่อนขึ้นฝั่งเวียดนาม 1325-00
  • 06:00  ปริมาณน้ำในเขื่อนป่าสักฯลดลงเหลือ 133.16% ของความจุปกติ ระดับเข้าอ่าง (inflow) ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง pskdam-20131013-0600
  • 03:00 ไซโคลนไพลิน ลดกำลังลงเหลือระดับที่ 3
  • 02:30 รายงาจาก TSR ลอนดอน ไต้ฝุ่นระดับที่ 1 นารี ทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่นระดับที่ 2 ทิศทางมุ่งเวียดนาม และจะเลยเข้ามาในลาว เข้าไทยทางมุกดาหาร (แบบเส้นทางพายุของ TSR และ JTWC มักจะไม่นำภูเขาและต้นไม้ในลาวไปคำนวน ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคุญในการสลากำลังพายุ เส้นทางพายุหลังขึ้นฝั่งของ 2 หน่วยงานนี้จึงมักยาวกว่าเส้นทางของหน่วยงานอื่นเสมอ)
    image
  • 01:30 พายุโซนร้อนวิภา ทวีกำลังเป็นไต้ฝุ่นระดับที่ 1 ทิศทางยังมุ่งญี่ปุ่น
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 15:22 แผ่นดินไหว ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ (18.91,99.17) ขนาด 2.0
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 15 กันยายน 2556

[stextbox id=”info”]การกลับขั้วแม่เหล็กของดวงอาทิตย์ เป็นเหตุการณ์ปกติที่เกิดทุก 11 ปี ไม่ส่งผลร้ายอะไร[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:00 ตำแหน่งพายุมานหยี่ล่าสุดเวลานี้ (กากบาท) คาดว่าจะเข้าประชิดฝั่งญี่ปุ่นตีหนึ่งคืนนี้ MANYI-20130915-2000
  • 19:00 ดวงอาทิตย์ส่งสัญญาณใกล้กลับขั้ว รังสี X ในช่วง 3 วันที่ผ่านมา แทบไม่ปรากฏออกมาเลย กราฟเป็นเส้นตรงเกือบหมด flatline_strip
  • 11:00 พายุโซนร้อนอินกริด ในอ่าวเม็กซิโก ทวีกำลังเป็นเฮอริเคนระดับ 1 (CAT1) คาดว่าจะขึ้นฝั่งที่เมืองแทมปิโก (Tampico) 
  • 10:00 พายุดีเปรสชัน เกเบรียล ในมหาสมุทรแอตแลนติก สลายตัวแล้ว
  • 04:00 เส้นทางพายุมานหยี่ จาก JMA พายุจะขึ้นฝั่งที่เกาะฮอนชูช่วง 04:00 เช้าวันพรุ่งนี้ แต่จะส่งผลต่อจังหวัดชายฝั่งตั้งแต่ช่วงบ่ายวันนี้เป็นต้นไปMNYI-20130915-0450
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 22.80 กม.
  • เมื่อ 22.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.60 กม.
  • เมื่อ 21.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 57.70 กม.
  • เมื่อ 19.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ Mona Passage เปอร์โตริโก ที่ความลึก 102.00 กม.
  • เมื่อ 18.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.40 กม.
  • เมื่อ 18.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.00 กม.
  • เมื่อ 18.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.70 กม.
  • เมื่อ 18.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.60 กม.
  • เมื่อ 16.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ประเทศเปรู-ประเทศเอกวาดอร์(ตรงรอยต่อ) ที่ความลึก 59.40 กม.
  • เมื่อ 16.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Chihuahua ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 8.30 กม.
  • เมื่อ 16.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Seram ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 31.50 กม.
  • เมื่อ 14.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Bali Sea ที่ความลึก 303.00 กม.
  • เมื่อ 13.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Rat Islands หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 13.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Mendoza ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 104.60 กม.
  • เมื่อ 12.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 12.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 12.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Arkansas ที่ความลึก 0.90 กม.
  • เมื่อ 11.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ อ่าว อลาสกา ที่ความลึก 0.20 กม.
  • เมื่อ 09.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่เกาะฟิจิ ที่ความลึก 366.40 กม.
  • เมื่อ 09.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 562.90 กม.
  • เมื่อ 08.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 29.00 กม.
  • เมื่อ 08.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 72.50 กม.
  • เมื่อ 07.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 39.70 กม.
  • เมื่อ 07.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.4 บริเวณ Komandorskiye Ostrova ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 25.00 กม.
  • เมื่อ 06.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 6.60 กม.
  • เมื่อ 03.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 บริเวณ Bougainville ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 79.00 กม.
  • เมื่อ 01.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 23.50 กม.
  • เมื่อ 01.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ Kansas ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 01.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 87.60 กม.
  • เมื่อ 00.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 34.00 กม.
  • เมื่อ 00.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 111.00 กม.
  • เมื่อ 00.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 16.40 กม.
  • เมื่อ 00.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ประเทศเอกวาดอร์ ที่ความลึก 122.70 กม.