รายงาน​ภัยพิบัติ​ 16 กุมภาพันธ์​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:13 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก​ 10​ กม.พิกัด​ 35.14°E 5.37°S แทนซาเนีย​
  • 21:30 เรดาร์​ฝน​ TMD ลำ​พูน​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​เหนือ​ ในช่วง 1 ชั่วโมง​ 15​ นาที​ ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 17:29 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 ลึก​ 10​ กม. ​ พิกัด​ 100.49°W 32.84°N เมืองโรตัน รัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 16:47 แผ่นดินไหว​ขนาด 4.9​  ลึก​ 10​. พิกัด​  14.66°E 45.00°N สาธารณรัฐโครเอเชีย​
  •  16:00 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 10:00
  • 15:54 เกิดพายุฤดูร้อน​และลูกเห็บ​ตกที่ บ้านเวียงหวาย และบ้านหัวฝาง ต.ม่อนปิ่น อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ที่มา เฟสบุ๊ค Nong Chalermchai) และ บุญเทิด คนฝางกรุ๊ป​
  • 07:00 พายุ​ไซโคลน​ Freddy​ ในมหาสมุทรอินเดียโซนซีกโลกใต้ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุล่าสุด 135 น็อต​ เทียบ​เท่า​ระดับ​ 4 ตา​ม​มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 14.8°S 82.5°E  เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกยังไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 03:55 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 45 นาที​ที่ผ่านมา
  • 01:10 แผ่นดินไหว​ขนาด 6.0 (Mw)​ ลึก​ 10​ กม. พิกัด​ 123.94°E 12.32°N ในทะเลใกล้จังหวัดซามาร์เหนือ ประเทศฟิลิปปินส์
  • 01:00 พายุ​โซน​ร้อน​ Dingani​ ในมหาสมุทรอินเดียโซนซีกโลกใต้ มีพิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 28.9°S 68.2°E อ่อนกำลังลงต่อเนื่อง​ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุลดลงเหลือ 40 น็อตแนวโน้มอ่อนกำลังเป็นพายุดีเปรสชั่น
  • มีมวลสารโคโรนา​หรือ CME​ ปล่อยออกจากดวงอาทิตย์​วานนี้ เนื่องจากมีการปะทุของฟิลาเมนท์ที่คร่อมขั้วแม่เหล็ก​ตรงเส้นศูนย์สูตร​ คาดว่า CME​ ดังกล่าว​จะเคลื่อนตัว​ถึงโลก 17-18 ก.พ. 66 และเข้าชนกับสนามแม่เหล็ก​เกิดเป็นพายุแม่เหล็ก​โลกระดับ G1 ถึง G2 ซึ่งถือว่าไม่อันตราย เพียงแค่สร้างแสงออโรราขึ้นมาในประเทศ​แถบละติจูด​สูง
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)