รายงานภัยพิบัติ 27 กรกฎาคม 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุเฮอริเคน Douglas  ในมหาสมุทรแปซิฟิก  เคลื่อนตัวผ่านเกาะฮาวาย ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 80 น็อต  แนวโน้มอ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนมุ่งทิศตะวันตก
  • 18:00  ภัยแล้งยังคงอยู่ เขื่อนหลายแห่งเวลานี้มีปริมาณน้ำ “ใช้การได้” ต่ำกว่าระดับวิกฤต ที่น่าห่วงคือเขื่อนภูมิพลที่เหลือเพียง 1% และเขื่อนอุบลรัตน์ที่ต่ำกว่าระดับ Dead Storage จนติดลบ 11%
  • 14:00 จุดดับ 2767 บนดวงอาทิตย์ หันหน้าตรงมายังโลก
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน Gonzalo ในมหาสมุทรแอตแลนติกสลายตัวแล้ว
  • 12:50 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (mb) ลึก​ 44 กม. พิกัด ​94.99°E 30.32°N เขต​ปกครอง​ตนเอง​ทิเบต​
  • 12:14 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 104.66°E 20.94°N พรมแดน​ลาา-เวียดนาม​
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกสะสมในกรุวเทพฯตลอด 24 ชม.ที่ผ่านมา สีขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 07:00 สรุปยอด COVID-19 ทั่วโลก แสดงเฉพาะประเทศที่มีผู้ป่วยสะสมที่ยืนยันแล้วมากกว่า 100,000 ราย
  • 07:00 พื้นที่ที่มีปริมาณฝนตกสูงสุดทั่วโลกรอบ 24 ชม.ที่ผ่านมา
    1 Fengjie (China) 266.4 mm
    2 Newcastle University (Australia) 152 mm
    3 Chun An (China) 142.7 mm
    4 Williamtown Aerodrome (Australia) 133 mm
    5 Nowra Ran Air Station (Australia) 125 mm
    6 Qu Xian (China) 121.5 mm
    7 Moruya Heads (Australia) 118 mm
    8 Balikpapan / Sepinggan (Indonesia) 117 mm
  • 04:00 พายุเฮอร์ริเคนฮานนา เคลื่อน​ตัวจากสหรัฐเข้าเขตประเทศเม็กซิโก  อ่อนกำลังลงเป็นพายุ​โซน​ร้อน​และพายุดีเปรสชัน ตามลำดับ​ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุลดลงเหลือ​ 30 น็อต แนวโน้มอ่อนกำลังลงอย่างต่อเนื่อง จนสลายตัว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
http://geofon.gfz-potsdam.de/eqinfo/list.php?datemin=2020-07-26&datemax=2020-07-26&latmin=&latmax=&lonmin=&lonmax=&magmin=&fmt=html&nmax=