รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

[stextbox id=”info”]ไอน้ำ เป็นน้ำในสถานะก๊าซ ไอน้ำเป็นก๊าซไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และมองไม่เห็น
เมฆที่เรามองเห็นเป็นหยดน้ำในสถานะของเหลว หรือเกล็ดน้ำแข็งในสถานะของแข็ง[/stextbox]

  • 22:00 ทิศทางของพายุดีเปรสชัน 05W (หลังเป็นโซนร้อนจะได้ชื่อว่าเบบินคา) ในเบื้องต้นคาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามภายใน 4 วันข้างหน้า201305W-20130620-2100
  • 17:01 กลุ่มฝนเคลื่อนตัวจากสมุทรสาครเข้ากรุงเทพ
  • 16:30 ฝนตกเชียงใหม่
  • 14:30 ฝนตกเชียงราย
  • 14:00 พายุโซนร้อนแบรี เคลื่อนตัวเข้าใกล้ฝั่งเม็กซิโก คาดว่าจะขึ้นฝั่งในเวลาไม่เกิน 9 ชม นับจากนี้
  • 13:00 อุตุนิยมญี่ปุ่น หรือ JMA คาดการณ์ว่าพายุดีเปรสชันหลี่ผี จะขึ้นฝั่งก่อนบ่ายโมงของวันพรุ่งนี้ 1304-00
  • 13:00 JTWC ยังไม่ประกาศการก่อตัวของดีเปรสชัน 05W ตามฟอร์มที่จะประกาศการก่อตัวช้ากว่าญี่ปุ่นเสมอ (แต่มักประกาศสลายตัวก่อน) ในภาพจะเห็นหลี่ผี มีสถานะเป็นดีเปรสชันแล้ว 
  • 11:45 ภาพจากดาวเทียม MTSAT-2 แสดงตำแหน่งและลักษณะของพายุดีเปรสชันหลี่ผี และพายุดีเปรสชัน 05W ที่ก่อตัวขึ้นใหม่ในทะเลจีนใต้ตะวันตกของฟิลิปปินส์ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าหลี่ผีที่ข้างไต้หวันมาก 
  • 11:30 พายุโซนร้อนหลี่ผี อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันแล้วในขณะนี้ ทิศทางยังคงมุ่งไปทางประเทศญี่ปุ่น 
  • 11:00 JMA ประกาศให้หย่อมความกดอากาศต่ำ 94W ในทะเลจีนใต้เป็นพายุดีเปรสชันแล้วในเวลานี้ ความกดอากาศ 1002 hPa ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 30 น็อต  (หากความเร็วลมยังเพิ่มจนถึงระดับ จะได้ชื่อพายุว่า เบบินคา)
  • 06:32 หย่อมความกดอากาศต่ำ 94W ในทะเลจีนใต้ ทวีกำลังเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังปานกลาง มีแนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นพายุ หากดูจากแผนที่อากาศที่ระดับความสูง 850 mb ของกรมอุตุ จะเห็นว่า 94W เป็นตัวดึงลมมรสุมจากอันดามันเข้าหาไทยในเวลานี้ 
  • 02:00 พายุดีเปรสชัน 02L เคลื่อนที่จากฝั่ง ลงอ่าวเม็กซิโก ใช้ความร้อนจากน้ำทะเล ทวีกำลังกลายเป็นพายุโซนร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 35 น็อต ได้ชื่อว่่า แบรี BARRY 
  • 00:30 พายุโซนร้อนหลี่ผี ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 35 น็อต เคลื่อนมาทางตะวันออกของไต้หวัน ทิศทางยังมุ่งญี่ปุ่น 
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 23.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 17.00 กม.
  • เมื่อ 23.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Honduras ที่ความลึก 25.10 กม.
  • เมื่อ 22.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ รัฐเนวาดา ที่ความลึก 14.50 กม.
  • เมื่อ 21.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 41.00 กม.
  • เมื่อ 19.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Antagasta ประเทศชิลี ที่ความลึก 136.30 กม.
  • เมื่อ 18.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 33.50 กม.
  • เมื่อ 16.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Nei Mongol-Heilongjiang (ตรงรอยต่อ) ประเทศจีน ที่ความลึก 14.80 กม.
  • เมื่อ 14.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 146.30 กม.
  • เมื่อ 14.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 57.90 กม.
  • เมื่อ 13.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 98.00 กม.
  • เมื่อ 13.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 35.10 กม.
  • เมื่อ 10.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 10.20 กม.
  • เมื่อ 09.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ San Francisco Bay area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 8.30 กม.
  • เมื่อ 08.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 51.20 กม
  • เมื่อ 08.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 18.70 กม.
  • เมื่อ 07.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Kepulauan Sangihe ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 146.60 กม.
  • เมื่อ 07.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 135.00 กม.
  • เมื่อ 06.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 4.80 กม.
  • เมื่อ 06.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม.
  • มื่อ 04.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 บริเวณ Mendoza ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 99.50 กม.
  • เมื่อ 03.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ Greater Los Angeles area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.20 กม.
  • เมื่อ 02.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ Greater Los Angeles area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.70 กม.
  • เมื่อ 01.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 29.00 กม.
  • เมื่อ 01.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 7.00 กม.
  • เมื่อ 00.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 41.00 กม.