14 ธ.ค. 54

เหตุการณ์วันนี้

  • 12:04 เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงมากถึงแมกนิจูด 7.3 บนเกาะปาปัวนิวกินี (ไม่มีสึนามิเพราะเกิดบนพื้นดิน กดดูแผนที่ รอรายงานความเสียหาย
  • เกิดแผ่นดินไหวที่ลำปาง เวลา 09:09 ขนาด 2.5
  • เกิดน้ำท่วมดินถล่มครั้งใหญ่สุดในรอบ 40 ปีของโคลอมเบีย มีผู้เสียชีวิต 145 ราย สูญหาย 15 ราย
  • ข่าวลือเรื่องอุกาบาต http://is.gd/WL6QBM นี่ไม่จริงนะครับ
  • นิคมอุตสาหกรรมนวนคร เริ่มทำความสะอาดวันนี้เป็นวันแรก
  • สามพรานตอนเหนือ พุทธมณฑล บางกรวย ทวีวัฒนา ส่วนใหญ่ในซอย ยังมีน้ำท่วมอยู่
  • 08:45 มีหมอกหนาปกคลุมหลายพื้นที่ใน จ.เชียงราย อุณหภูมิเฉลี่ย 15°C
  • หย่อมความกดอากาศสูงทางตอนเหนือของจีน ขนาดถึง 1044mb เป็นตัวทำให้หนาวเย็นทั่วภูมิภาคขณะนี้ ปักกิ่ง -4°C เมื่อ 08:30 ตามเวลาไทย
  • พายุดีเปรสชัน 26W ถูกความกดอากาศสูงกำลังแรงจากจีน ที่ปกคลุมทั่วอินโดจีนขณะนี้ ผลักให้เบี่ยงลงไปทางใต้ 
  • 06:30 กทม 22°C ลำปาง 16°C เลย 13°C น่าน 17°C เชียงใหม่ 16°C เชียงราย 14°C หาดใหญ่ 23°C ร้อยเอ็ด 18°C อุดร 14°C อุบล 17°C ชลบุรี 22°C
  • เช้าวันนี้ ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ น้ำขึ้นเต็มที่เวลา 11:18 สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1.70 เมตร
  • เย็นวันนี้ ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ น้ำขึ้นเต็มที่เวลา 19:08 สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1.26 เมตร
  • ครบรอบ 100 ปี การค้นพบขั้วโลกใต้ โดย นักสำรวจชาวนอร์เวย์ โรอัลด์ อะมุนด์เซน และคณะสำรวจอีก 4 คน

ความผิดพลาดในคำทำนายเกี่ยวกับสภาพอากาศโลกของ IPCC

IPCC กับคำทำนายที่น่าตื่นตระหนกที่ได้ลงตีพิมพ์ใน นิวยอร์คไทมส์
เดือนกันยายน 1995 มีรายงานจาก นิวยอร์คไทมส์ว่า นักวิทยาศาสตร์ของ IPCC ได้มีคำพยากรณ์ถึงความเปลี่ยนแปลงอย่างใกญ่หลวงของสภาพอากาศโลกออกมา (ตอนนั้น IPCC กำลังเตรียมออกภาคประเมิณ SAR ในปี 1996)

ตาม Link ด้านล่างนี้
http://select.nytimes.com/gst/abstract.html?res=F60613FB3C5D0C7B8DDDA00894DD494D81

เรามาดูว่าอีก 15 ปีต่อมา คำพยากรณ์ของ IPCC ถูกต้องแค่ไหน

ภาพด้านล่างนี้ คือกราฟแสดงการเพิ่มอุณหภูมิโลกในช่วง 100 ปีข้างหน้า (จาก 1990-2090) โดยมีโมเดลการคำนวนค่าที่แตกต่างกันถึง 9 แบบแยกตามสีต่างๆ เกือบทุกแบบแสดงความสอดคล้องกันของการเพิ่มอุณหภูมิโลกในช่วง 100 ปีมากบ้างน้อยบ้างตามวิธีทางคณิตศาสตร์

ส่วนด้านล่างนี้ คือระดับอุณหภูมิโลกที่เกิดจริง วัดถึงเดือน พ.ค. 2011 (เก็บข้อมูล 32 ปี โดยเริ่มจาก 1979 ก่อนกราฟด้านบน 11 ปี)

เมื่อนำกราฟทั้งสองมาทับกัน จะพบความแตกต่างดังรูปด้านล่างนี้

จากที่เห็น พบว่ามีเพียงโมเดลการคำนวนแบบ MRI2 (สีบานเย็น) ที่มีค่าใกล้เคียงความจริง ที่เหลืออีก 8 โมเดล ล้วนคำนวนว่าโลกจะร้อนกว่าที่เป็น

สรุปรายงานแผ่นดินไหวทั่วโลก ประจำวันที่ 14 ธ.ค. 54

รายงานแผ่นดินไหวทั่วโลกจาก USGS นี้ ไม่มีรายงานของแผ่นดินไหวในไทยรวมอยู่ด้วย เนื่องจากข้อมูลกรมอุตุไทยไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบสากล

  • เมื่อ 23.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.5 บริเวณ ทางตะวันตกของ Montana ที่ความลึก 12.20 กม.
  • เมื่อ 23.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางตะวันตกของ Montana ที่ความลึก 2.40 กม.
  • เมื่อ 22.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 9.00 กม.
  • เมื่อ 21.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ Kenai Peninsula Alaska ที่ความลึก 57.20 กม.
  • เมื่อ 19.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 19.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ตอนใต้ของอลาสกา ที่ความลึก 132.60 กม.
  • เมื่อ 14.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางตะวันออกของ Sea ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 238.80 กม.
  • เมื่อ 12.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.3 บริเวณ ทางตะวันออกของ New Guinea ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก …http://on.doi.gov/sIb2YT
  • เมื่อ 11.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทางตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 50.60 กม.http://on.doi.gov/tYp8Sw
  • เมื่อ 09.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ ตอนใต้ของอลาสกา ที่ความลึก 43.00 กม. http://on.doi.gov/u6H9kz
  • เมื่อ 08.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ Island Hawaii Hawaii ที่ความลึก 33.70 กม. http://on.doi.gov/s3Zy5J
  • เมื่อ 07.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 38.00 กม. http://on.doi.gov/rEgBfQ
  • เมื่อ 07.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ Tonga ที่ความลึก 9.90 กม. http://on.doi.gov/vykz4D
  • เมื่อ 06.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ Arizona ที่ความลึก 0.40 กม. http://on.doi.gov/u9UxZ5
  • เมื่อ 05.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Central Alaska ที่ความลึก 22.80 กม. http://on.doi.gov/vcEyHg
  • เมื่อ 04.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Kermadec Islands New Zealand ที่ความลึก 184.60 กม. http://on.doi.gov/v3CLuh
  • เมื่อ 03.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ south Alaska ที่ความลึก 41.50 กม. http://on.doi.gov/sJAqSr
  • เมื่อ 00.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Kyushu ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 32.90 กม. http://on.doi.gov/tL7Xa3
  • เมื่อ 00.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 1.70 กม. http://on.doi.gov/udM5zq