รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 22 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00 ตำแหน่งและขนาด-ชนิดของพายุหมุนเขตร้อนทั่วโลกทั้ง 4 ลูกเวลานี้ ฟรานซิสโก เลกีมา เรมอนด์ และลอเรนโซ (ทิศทางของไต้ฝุ่นฟรานซิสโกเบี่ยงออกจากโตเกียวแล้ว) TSR-20131022-1500
  • 07:22 เกิดการปะมุระดับ M1 จากบริเวณจุดดับหมายเลข 1875 บนดวงอาทิตย์ โดยไม่เกิด CME oct22_2013_m1
  • 06:00 เขื่อนป่าสักฯยังคงสะสมน้ำไว้ใช้หน้าแล้งในอัตรากักเก็บที่เกินความจุสูงสุด ตามคำสั่งกรมชล  pskdam-20131022-0600
  • 04:00 พายุดีเปรสชัน 13L กลางมหาสมุทรแอตแลนติค ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า ลอเรนโซ Lorenzo17L
  • 03:30 ฝนหนัก หัวหิน
  • 02:00 พายุโซนร้อนเลกีมา ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นระดับ 1 TSR-20131022-0200
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้  ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 17 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 เขื่อนป่าสักฯยังคงลดการระบายน้ำลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งที่น้ำยังเกินระดับเก็บกักตามปกติอยู่ที่ 121.4% pskdam-20131017-2100
  • 20:00 ไต้ฝุ่นฟรานซิสโก ทวีกำลังจากระดับ 1 ไปเป็นระดับ 2 ประเมินทิศทางว่าจะมุ่งเหนือ ไปใกล้ญี่ปุ่น 
  • 18:00 เขื่อนป่าสักฯปรับอัตราการระบายน้ำล่าสุด น้ำเข้า 20 ล้าน ลบม/วัน ระบายออก 30 ล้าน ลบม/วัน PSKDAM-17OCT13-1800
  • 15:26 ดาวเคราะห์น้อย 2013 RH74 เข้าใกล้โลกที่ระยะ 20.47 LD ในเวลานี้ (LD คือระยะดวงจันทร์)
  • 15:00 โลกในเวลานี้เหลือพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกคือพริสซิลลาทางตะวันตกของเม็กซิโกและฟรานซิสโกแถวเกาะกวม TSR-20131017-1500
  • 14:30 ทางการฟิลิปปินสยังไม่ให้เปิดทำการเรียนการสอนในพื้นที่ๆเกิดแผ่นดินไหว จนกว่าจะมีการตรวจความแข็งแรงของอาคารเรียนก่อน
  • 13:00 ภาพจาก JTWC แสดงตำแหน่งล่าสุด และลักษณะของพายุไต้ฝุ่นฟรานซิสโก หรือ TY26W 
  • 12:30 พายุโซนร้อนฟรานซิสโก ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้วในเวลานี้
  • 12:00 ผลงานไต้ฝุ่นนาริ ในเวียดนามคือ 11 ศพ สูญหาย 5 ราย บ้าน 1.3 หมื่น หลัง อพยพ 1.2 แสนคน philippines_asia_typhoon_nari
  • 11:00 ทางรัสเซียได้กู้ก้อนอุกกาบาต ที่พุ่งเข้าบรรยากาศโลกในแถบเชลยาบินส์ เมื่อ 15 ก.พ. 56 ที่ผ่านมา ขึ้นจากทะเลสาบ Chebarkul แล้ว Russian_Meteor_photo[wpvp_embed type=youtube video_code=xaehWpT7two width=560 height=315]
  • 10:30 เส้นทางพายุฟรานซิสโก จาก 5 สำนัก (รอบนี้ทางฮ่องกงหรือ HKO ไม่ส่งการประเมิน) francisco
  • 09:00 เขื่อนป่าสักฯ ชะลอการระบายน้ำจาก 700 ลบม/วินาที ลงเหลือ 450 ลบม/วินาที pskdam20131017-0900
  • 08:30 จุดที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5+ ในรอบ 7 วันที่ผ่านมาใกล้ประเทศไทย ส่วนใหญ่จับกลุ่มกันแถบฟิลิปปินส์ ยูนนานมี 1 ครั้งที่เหลือจะเป็นสุมาตราและส่วนอื่นของอินโด (เส้นสีแดงในภาพคือรอยเลื่อนใหญ่ วงกลมสีส้มคือภายใน 24 ชม สีเหลืองเกิดนานกว่า 24 ชมแล้ว)USGS7DAY-45-20131017
  • 07:32 ยาน SDO พบหลุมโคโนนา บนดวงอาทิตย์ ผลจากหลุมนี้จะทำให้ลมสุริยะมีความเร็วเพิ่มขึ้นในช่วง 3-5 วันข้างหน้า coronalhole_sdo-20131017-0730
  • 06:16 ภาพดาวเทียม แสดงฝนกลุ่มเล็กที่มีผลกับภาคกลาง ทางขวาคือพายุโซนร้อนฟรานซิโกที่เกาะกวม asiasat-20131017-0616
  • 06:10 ฝนกลุ่มใหญ่เคลื่อนจากนครปฐม เข้ามาตกในกรุงเทพ
  • 06:00 สถาการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักฯ PSKDAM-17OCT13-0600
  • 05:20 อ.สารภี เชียงใหม่ ฝนตกปานกลาง สลับลมแรง
  • 04:45 ฝนตกบางบัวทอง บางใหญ่ ลาดหลุมแก้ว ไทรน้อย พุทธมณฑล กระทุ่มแบน เมืองสมทุรสาคร ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ พระประแดง
  • 00:00 ระดับน้ำคงเหลือในเขื่อนป่าสักฯ เริ่มลดต่ำกว่าระดับเก็บกักสูงสุด คือเหลือ 99.81% ของระดับสูงสุด แต่ยังเป็นปริมาณ 122.07% ของระดับเก็บกักปกติpskdam-20131017-0000
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 ตุลาคม 2556

[stextbox id=”black”]เส้นทางพายุ เป็นของไม่แน่นอน เปลี่ยนทุก 3-6 ชม เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง หลายหน่วยงานจึงคำนวนได้ไม่เหมือนกันสักครั้ง เว็บเราจะเสนอเส้นทางของเกือบทุกหน่วยงานในกรณีพายุเกี่ยวข้องกับไทย เพื่อประกอบการสังเกตและตัดสินใจ ไม่แนะนำให้เชื่อหน่วยงานใดหน่วยงานเดียว และต้องอัพเดทบ่อยๆ[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 ยอดตายจากไซโคลนไพลิน 9 ราย 17  ราย จากอันจเซรา (ภาพจาก AP)  
  • 22:00 ไต้ฝุ่นนารี มาถึงพิกัด N15°20′ E112°20′ 1325-00 (1)
  • 21:00 ไต้ฝุ่นวิภา ทวีกำลังขึ้นเป็นระดับ 4 ทิศทางยังคงตรงไปญี่ปุ่น 
  • 19:30 ไต้ฝุ่นนารี ได้รับการคำนวนเส้นทางพายุใหม่จาก TSR พายุจะสลายตัวบริเวณ จ.มุกดาหาร Nari-20131013-1800
  • 19:00 07:00 ECMWF ออกโมเดลล่าสุด พายุนารีจะไม่เข้าอ่าวตังเกี๋ยโดยตรง แต่จะเข้าชายฝั่งเวียดนามค่อนมาตอนกลางเล็กน้อยWind3285032and32mslp_Asia_24
  • 18:00  เขื่อนป่าสักฯ เพิ่มอัตราระบายไปที่ 738 ลบม/วินาทีPSKDAM-13OCT13-1800
  • 17:00 ไต้ฝุ่นวิภา ทวีกำลังขึ้นเป็นระดับ 3 ทิศทางยังคงตรงไปญี่ปุ่น
  • 16:00 ไพลินในอินเดีย สลายตัวแล้ว
  • 15:20 ฝนตกหนัก ปากน้ำ
  • 15:00 เขื่อนป่าสักฯ ปริมาณน้ำคงเหลือ 132.32% จากระดับปกติ pskdam-20131013-1500
  • 12:05 ภาพดาวเทียม ลักษณะและตำแหน่งล่าสุดของไต้ฝุ่นนารี ซ้ายมือคือชายฝั่งเวียดนาม 
  • 12:00 เขื่อนป่าสักฯ เพิ่มอัตราการระบายจาก 700 มาเป็น 732 ลบม/วิ น่าจะเป็นเพราะคำสั่งให้รับมือพายุนารี pskdam-20131013-1200
  • 10:17 เส้นทางพายุไต้ฝุ่นนารี จากแบบประเมินของอุตุฮ่องกง หรือ HKO ล่าสุด พายุจะอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำหรือ LPA ในวันที่ 17 ต.ค. แถบจังหวัดกาฬสินธุ์
  • 09:42 ตำแหน่ง ความแรง และเส้นทางของไต้ฝุ่นวิภาและนารี ซึ่งขณะนี้เป็นไต้ฝุ่นระดับ 2 ทั้งคู่ โดยนารีตรงมาทางเวียดนามและวิภาขึ้นไปใต้ญี่ปุ่นจากนั้นจะเลี้ยวออก
  • 08:16 ไต้ฝุ่นนารี เคลื่อนมาถึงกลางทะเลจีนใต้ เมฆฝนบางส่วนก่อให้เกิดฝนตกในเวียดนาม ลาว และหนองคายเช้านี้ TWC20131013-0816
  • 08:14 ไซโคลนไพลิน เริ่มลดกำลังลงอย่างรวดเร็วหลังขึ้นฝั่งอินเดียวานนี้TWC20131013-0814
  • 07:43 เกิดการปะทุระดับ M จากจุดดับหมายเลข 1865 บนดวงอาทิตย์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพายุแม่เหล็กโลกใน 2-4 วันนี้m1_strip
  • 07:00 ECMWF ออกโมเดลมาคล้ายของเดิม คือ พายุนารีจะเข้าอ่าวตังเกี๋ยวันที่ 15 แล้วเคลื่อนไปด้านเหนือในวันที่ 16 จากนั้นสลายตัว ไม่เข้าไทย Wind3285032and32mslp_Asia_48Wind3285032and32mslp_Asia_72
  • 07:00 JMA หรืออุตุนิยมญี่ปุ่น ยังคงประเมินว่าพายุไต้ฝุ่นนารี จะสลายตัวหมดก่อนขึ้นฝั่งเวียดนาม 1325-00
  • 06:00  ปริมาณน้ำในเขื่อนป่าสักฯลดลงเหลือ 133.16% ของความจุปกติ ระดับเข้าอ่าง (inflow) ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง pskdam-20131013-0600
  • 03:00 ไซโคลนไพลิน ลดกำลังลงเหลือระดับที่ 3
  • 02:30 รายงาจาก TSR ลอนดอน ไต้ฝุ่นระดับที่ 1 นารี ทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่นระดับที่ 2 ทิศทางมุ่งเวียดนาม และจะเลยเข้ามาในลาว เข้าไทยทางมุกดาหาร (แบบเส้นทางพายุของ TSR และ JTWC มักจะไม่นำภูเขาและต้นไม้ในลาวไปคำนวน ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคุญในการสลากำลังพายุ เส้นทางพายุหลังขึ้นฝั่งของ 2 หน่วยงานนี้จึงมักยาวกว่าเส้นทางของหน่วยงานอื่นเสมอ)
    image
  • 01:30 พายุโซนร้อนวิภา ทวีกำลังเป็นไต้ฝุ่นระดับที่ 1 ทิศทางยังมุ่งญี่ปุ่น
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 15:22 แผ่นดินไหว ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ (18.91,99.17) ขนาด 2.0
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 3 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุโซนร้อนฟิโทว์ ทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่นระดับ CAT1 เส้นทางพายุยังมุ่งตรงไปจีน
  • 21:00 เขื่อนป่าสักฯกำลังจะถึงจุดหมดสภาพเก็บกักโดยสิ้นเชิงในไม่กี่ ชม นี้PSKDAM-03OCT13-2100
  • 17:00 ฝนหนัก ระยอง-จันทบุรี
  • 13:00 JTWC ประกาศการสลายตัวของพายุเซอปัต และให้หย่อมความกดอากาศต่ำ 97W มีค่าเป็น High แต่ยังไม่ยกระดับเป็นดีเปรสชัน
  • 13:00 JMA ประกาศการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน ทางตะวันออกของพายุโซนร้อนฟิโทว์ all-00
  • 12:20 เส้นทางคำนวนล่าสุดจาก TSR พายุโซนร้อนฟิโทว์ TS22W จะเคลื่อนไปขึ้นฝั่งประเทศจีนที่เมืองนิงโบ โดยจะทวีกำลังเป็นไต้ฝุ่นระหว่างทาง 
  • 12:00 พบการก่อตัวใหม่ของหย่อมความกดอากาศ 99A ในทะเลอาราเบียน
  • 11:00 พายุโซนร้อนเซอปัต สลายตัวแล้ว
  • 10:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 98W ในทะเลจีนใต้ สลายตัวแล้ว
  • 06:00 ระดับน้ำในเขื่อนทั่วไทยเช้านี้ จากกรมชล (รูปบน) ซึ่งส่วนข้อมูลของเขื่อนป่าสักฯ ขัดแย้งกับที่รายงานตรงจากห้อง Control ของเขื่อน (รูปล่าง) ที่ได้ระบุว่าปริมาณน้ำในเวลานี้คือ 117% ไม่ใช่ 93% pasakdam-03OCT13
  • 04:00 ตำแหน่งและขนาดของพายุหมุนเขตร้อนทั้ง 3 ลูกในโลกเวลานี้ 
  • 03:30 ฝนหนัก อ.เมืองเชียงใหม่
  • 02:30 ผลจาก CME ที่เข้าปะทะสนามแม่เหล็กโลก คนในโอเรกอน ได้ชมแสงเหนือสวยงาม ที่นานๆจะลงมาถึงแถบนี้ (ปกติมีแต่ในแคนาดา) ภาพนี้ถ่ายโดย  Jason Brownlee
  • 02:00 ยังคงมีพายุสนามแม่เหล็กโลกจากการเข้าชนของ CME จากดวงอาทิตย์ วัดระดับสูงสุดได้ G2 หรือ kp index=6 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 30 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 กรมอุตุฯเวียดนาม รายงานตำแหน่งพายุไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ ล่าสุดขณะนี้มีศูนย์กลางพายุอยู่ในประเทศลาว ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางลดลงเหลือ 74 กม/ชม กลายเป็นพายุโซนร้อน (JMA วัดได้ 50 น็อต หรือ 92 กม/ชม)2013093015
  • 20:45 พายุหวู่ติ๊บ กำลังออกจากเวียดนาม ไปเข้าลาว
  • 19:00 พายุหมุนเขตร้อนทั้ง 4 ลูกในโลกเวลานี้ คือ 11L ในแอตแลนติกซึ่งก่อตัวมา 2 วันก่อนหน้านี้ ขณะนี้ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนชื่อ เจอรี Jerry ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ ดีเปรสชัน 22W และดีเปรสชันเซอปัต TSR-20130930-1900
  • 18:00 สภาพเวียดนามขณะหวู่ติ๊บขึ้นฝั่ง[wpvp_embed type=youtube video_code=nxJMDPbzuic width=560 height=315] 
  • 17:01 ภาพดาวเทียมพายุหวู่ติ๊บ ขณะขึ้นฝั่งที่ีตอนกลางของประเทศเวียดนาม 
  • 16:00 พายุไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ ไปถึงฝั่งประเทศเวียดนามแล้วในเวลานี้ โดยกรมอุตุฯเวียดนาม รายงานความเร็วลมที่จะขึ้นฝั่งที่ 126 กม/ชม2013093008
  • 15:00 ดีเปรสชัน 21W ได้ชื่อเรียกเป็นทางการแล้วว่า “เซอปัต”
  • 14:00 TSR ประกาศการก่อตัวของดีเปรสชัน 22W (ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W) ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์
  • 08:00 TSR ประกาศการก่อตัวของดีเปรสชัน 21W (ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W) ทางตอนใต้ของญี่ปุ่น 
  • 07:30 สรุปสถานการณฺน้ำท่วมล่าสุดจาก ปภ. 1234160_636586386386760_323565820_n
  • 07:00 ดวงอาทิตย์ปะทุ CME ออกมาก้อนใหญ่ ซึ่งจะใช้เวลาเดินทางมาถึงโลกราว 2-3 วัน ตามความเร็วของลมสุริยะ cme_strip-30SEP13
  • 06:32 ภาพไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ จากดาวเทียม MTSAT-2 ขณะนี้ 
  • 06:00 เขื่อนเจ้าพระยาระบายน้ำที่อัตรา 2,195 ลบม/วินาที
  • 05:00 อุตุเวึยดนามคาดว่าไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บจะขึ้นฝั่งตอนกลางของประเทศ ที่พิกัด 17.306066,106.769042 เวลา 16:00 ของวันนี้ (เวลาเวียดนามตรงกับไทย) โดยลดกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนที่ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 93 กม/ชม
  • 04:45 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ อยู่ที่พิกัด N17°00′ E109°30′ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 65 น็อต อ่อนกำลังลงเรื่อยๆ
  • 04:10 อุตุฮ่องกง หรือ HKO ประเมิณล่าสุดว่า พายุหวู่ติ๊บ จะอ่อนกำลังจนเป็นดีเปรสชันขณะเข้าไทย และไปสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำแถบหนองบัวลำภู HKO-WUTIP
  • 04:00 ประกาศกรมอุตุ ฉบับที่ 11 เตือนฝนหนักจากหวู่ติ๊บ ใน จังหวัดนครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ์ หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย ขอนแก่น ชัยภูมิ พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ บ่ายวันนี้เป็นต้นไป กดอ่าน
  • 03:30 น้ำที่ท่วม อ.ศรีมหาโพธิ ไหลมาท่วม อ.เมืองปราจีน
  • 03:00 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ อ่อนกำลังลงจากไต้ฝุ่นระกับ CAT2 เหลือเป็น CAT 1 เริ่มส่งผลให้มีฝนตกในไหหลำและดานัง 201320W-20130930-0300
  • 01:30 JTWC อัพเกรดหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W ที่ฟิลิปปินส์ และ 96W ไกลออกไปในแปซิฟิค เป็น High ขณะที่ทางญี่ปุ่นให้เป็นดีเปรสชันไปตั้งแต่วานนี้แล้ว 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 29 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บยังคงความเร็วลมที่ระดับ 85 น็อต การประเมิณทิศทางครั้งล่าสุดโดย TSR พายุจะสลายตัวใน จ.อุดร  
  • 16:50 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ  อยู่ที่พิกัด N16°50′ E111°30′
  • 13:00 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ  อยู่ที่พิกัด N16°40′ E111°40′
  • 12:00 14:00 อุตุญี่ปุ่น ยกระดับความกดอากาศ 95W และ 96W เป็นพายุดีเปรสชันลูกใหม่ อีก 2 ลูก 
  • 11:07 เขื่อนป่าสักฯ เริ่มระบายน้ำออก เพื่อรับมือพายุหวู่ติ๊บ 250 ลบม/วิ น้ำเข้า 558 ลบม/วิ 
  • 10:50 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ  อยู่ที่พิกัด N16°35′ E112°00′
  • 10:28 เขื่อนพระรามหก ปล่อยน้ำ 400 ลูกบาศก์เมตร/วินาที เตือนคนท้ายเขื่อน รับน้ำล้นตลิ่ง
  • 10:00 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บ ทวีกำลังจากระดับ 1 เป็นไต้ฝุ่นระดับ 2 ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 167 กม/ชม (90 น็อต) WUTIP-20130929-1000
  • 08:00 สนามแม่เหล็กโลกเงียบสงบ ดวงอาทิตย์เงียบสงบ ไม่สอดคล้องกับนักวิชาการคลั่งโลกแตกที่ชอบเอาดวงอาทิตย์มาพ่วงกับแผ่นดินไหว พายุ 
  • 07:32 ภาพดาวเทียม แสดงตำแหน่งและลักษณะตาพายุที่ขชัดเจนของไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บในขณะนี้ 
  • 07:00 เส้นทางพายุจากเกือบทุกกรมอุตุแถบบ้านเรา สีน้ำเงิน-JTWC  / สีเขียว CMA-จีน /  สีบานเย็น KMA เกาหลี / สีน้ำตาล JMA ญี่ปุ่น / สีเหลือง CWB ไต้หวัน / สีแดง HKO ฮ่องกงWutip-20130929-0700
  • 06:30 รายงานน้ำท่วมจาก ป.ภ. 1380729_636009649777767_651424073_n
  • 06:00 ปริมาณน้ำในเขื่อนสำคัญทั่วไทยวันนี้ 
  • 03:00 ไต้ฝุ่นหวู่ติ๊บยังคงมีความเร็วลม 70 น็อต ทิศทางพายุปรับแก้โดย TSR ทุก 3-6 ชม WUTIP-20130929-0500
  • น้ำจากเทือกเขาเพชรบูรณ์หลากเข้าท่วมในพื้นที่ อ.เนินมะปราง และ อ.วังทอง โดยเฉพาะที่ อ.วังทอง มวลน้ำได้ทะลักจากแม่น้ำวังทอง เข้าท่วม 3 หมู่บ้าน คือหมู่ 8 บ้านวังสำโรง และหมู่ 14 บ้านวังฉำฉา หมู่ 7 บ้านวังพิกุล  ต.วังพิกุล อ.วังทอง
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้  ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • ยังไม่มีเหตุการณ์

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 15 กันยายน 2556

[stextbox id=”info”]การกลับขั้วแม่เหล็กของดวงอาทิตย์ เป็นเหตุการณ์ปกติที่เกิดทุก 11 ปี ไม่ส่งผลร้ายอะไร[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:00 ตำแหน่งพายุมานหยี่ล่าสุดเวลานี้ (กากบาท) คาดว่าจะเข้าประชิดฝั่งญี่ปุ่นตีหนึ่งคืนนี้ MANYI-20130915-2000
  • 19:00 ดวงอาทิตย์ส่งสัญญาณใกล้กลับขั้ว รังสี X ในช่วง 3 วันที่ผ่านมา แทบไม่ปรากฏออกมาเลย กราฟเป็นเส้นตรงเกือบหมด flatline_strip
  • 11:00 พายุโซนร้อนอินกริด ในอ่าวเม็กซิโก ทวีกำลังเป็นเฮอริเคนระดับ 1 (CAT1) คาดว่าจะขึ้นฝั่งที่เมืองแทมปิโก (Tampico) 
  • 10:00 พายุดีเปรสชัน เกเบรียล ในมหาสมุทรแอตแลนติก สลายตัวแล้ว
  • 04:00 เส้นทางพายุมานหยี่ จาก JMA พายุจะขึ้นฝั่งที่เกาะฮอนชูช่วง 04:00 เช้าวันพรุ่งนี้ แต่จะส่งผลต่อจังหวัดชายฝั่งตั้งแต่ช่วงบ่ายวันนี้เป็นต้นไปMNYI-20130915-0450
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 22.80 กม.
  • เมื่อ 22.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.60 กม.
  • เมื่อ 21.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 57.70 กม.
  • เมื่อ 19.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ Mona Passage เปอร์โตริโก ที่ความลึก 102.00 กม.
  • เมื่อ 18.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.40 กม.
  • เมื่อ 18.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.00 กม.
  • เมื่อ 18.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.70 กม.
  • เมื่อ 18.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 10.60 กม.
  • เมื่อ 16.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ประเทศเปรู-ประเทศเอกวาดอร์(ตรงรอยต่อ) ที่ความลึก 59.40 กม.
  • เมื่อ 16.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Chihuahua ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 8.30 กม.
  • เมื่อ 16.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Seram ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 31.50 กม.
  • เมื่อ 14.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Bali Sea ที่ความลึก 303.00 กม.
  • เมื่อ 13.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Rat Islands หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 13.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Mendoza ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 104.60 กม.
  • เมื่อ 12.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 12.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 12.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Arkansas ที่ความลึก 0.90 กม.
  • เมื่อ 11.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ อ่าว อลาสกา ที่ความลึก 0.20 กม.
  • เมื่อ 09.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่เกาะฟิจิ ที่ความลึก 366.40 กม.
  • เมื่อ 09.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 562.90 กม.
  • เมื่อ 08.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 29.00 กม.
  • เมื่อ 08.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 72.50 กม.
  • เมื่อ 07.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 39.70 กม.
  • เมื่อ 07.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.4 บริเวณ Komandorskiye Ostrova ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 25.00 กม.
  • เมื่อ 06.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 6.60 กม.
  • เมื่อ 03.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 บริเวณ Bougainville ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 79.00 กม.
  • เมื่อ 01.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 23.50 กม.
  • เมื่อ 01.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ Kansas ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 01.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 87.60 กม.
  • เมื่อ 00.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 34.00 กม.
  • เมื่อ 00.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 111.00 กม.
  • เมื่อ 00.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 16.40 กม.
  • เมื่อ 00.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ประเทศเอกวาดอร์ ที่ความลึก 122.70 กม.

 

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 12 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 11:53 ฝนตกหลายเขตใน กทม และปริมณฑล 
  • 07:00 ร่องฝนผ่ากลางไทย สาเหตุฝนที่ตกเวลานี้ในภาคกลางและภาคตะวันออก 2013-09-12_TopChart_07 (Custom)
  • 06:30 ช่วงนี้ดวงอาทิตย์มีอาการคล้ายช่วง Solar min คือใบหน้าใสกลมเกลี้ยง ไร้สิว ไม่มีจุดดับแม้จุดเดียว ทั้งที่ปีนี้ (2013) เป็นปี Solar Max ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่ามีการจัดเรียงระบบแม่เหล็กภายในในช่วงที่กำลังจะเข้าสู่การกลับขั้วในอีก 1-2 เดือนข้างหน้านี้ blank_strip
  • 04:00 พายุโซนร้อนฮัมเบอโต  ในแอตแลนติค ทางตะวันตกของทวีปแอฟฟริกา ทวีกำลังเป็นเฮอริเคนระดับที่ 1 (CAT1) ควาวเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 75 น็อต
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Kepulauan Talaud ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 50.60 กม.
  • เมื่อ 22.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 24.00 กม.
  • เมื่อ 20.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่ง เอล ซาวาดอ ที่ความลึก 50.40 กม.
  • เมื่อ 19.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 53.70 กม.
  • เมื่อ 18.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 36.00 กม.
  • เมื่อ 18.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 45.00 กม.
  • เมื่อ 16.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 16.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 63.00 กม.
  • เมื่อ 16.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ Kepulauan Barat Daya ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 172.00 กม.
  • เมื่อ 15.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Pacific-Antarctic Ridge ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 14.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 11.20 กม.
  • เมื่อ 13.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 594.80 กม.
  • เมื่อ 13.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ทางตะวันออกของทะเลญี่ปุ่น ที่ความลึก 186.10 กม.
  • เมื่อ 13.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Timor Sea ที่ความลึก 84.30 กม.
  • เมื่อ 11.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 10.50 กม.
  • เมื่อ 11.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่เกาะฟิจิ ที่ความลึก 549.60 กม.
  • เมื่อ 10.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เกาะโคดิแอค อลาสกา ที่ความลึก 77.30 กม.
  • เมื่อ 08.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Cordoba ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 25.40 กม.
  • เมื่อ 06.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 65.60 กม.
  • เมื่อ 05.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ San Francisco Bay area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 10.70 กม.
  • เมื่อ 02.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 41.70 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 28 สิงหาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00  หย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้ อ่อนกำลังลงกลับเป็น Low อีกครั้งหลังทวีกำลังเป็น Meduim อยู่ระยะหนึ่ง
  • 11:00 พายุโซนร้อนกองเรย ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางล่าสุด 50 น็อต ทิศทางคำนวนจาก TSR จะไปขึ้นฝั่งทางใต้ของญี่ปุ่น 
  • 10:04 ระดับน้ำที่เขื่อนเจ้าพระยายังอยู่ที่ 9 เมตร ถือว่ายังน้อยสำหรับปลายเดือนสิงหา
  • 09:00 พายุเฟอนาน ที่เม็กซิโก สลายตัวแล้ว
  • 07:30 ทุ่นเตือนสีนามิของไทย หยุดส่งสัญญาณเป็นวันที่ 7 (นับไปเรื่อยๆจนกว่าจะมีคนไปซ่อม) 23401-20130828
  • 06:32 หย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ในทะเลจีนใต้ ทวีกำลังเป็น Medium ขณะที่มีการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำใหม่ 93W ทางขวาสุดของภาพ
  • 03:00 เกิดพายุสนามแม่เหล็กโลกจากลมสุริยะที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นที่ 437 กม/วินาที และอาการเบี่ยงใต้ Bz ที่ -4.7nTKp-20130828
  • 00:42 ฝนตก บางพระ ชลบุรี
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 21.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 21.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ทางใต้ของ มณฑลซินเจียง ประเทศจีน ที่ความลึก 55.90 กม.
  • เมื่อ 19.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางเหนือของ มณฑลซินเจียง ประเทศจีน ที่ความลึก 25.90 กม.
  • เมื่อ 19.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 10.10 กม.
  • เมื่อ 17.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 136.80 กม.
  • เมื่อ 15.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Kepulauan Barat Daya ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 191.10 กม.
  • เมื่อ 15.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 88.20 กม.
  • เมื่อ 15.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 65.00 กม.
  • เมื่อ 14.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 159.80 กม.
  • เมื่อ 13.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 44.90 กม.
  • เมื่อ 12.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.5 บริเวณ Kepulauan Mentawai ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 59.70 กม.
  • pgab000jci1
  • เมื่อ 11.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 44.10 กม.
  • เมื่อ 11.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.8 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 1.70 กม.
  • เมื่อ 10.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 575.80 กม.
  • เมื่อ 10.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ตอนกลางของ สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติค ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 10.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 21.20 กม.
  • เมื่อ 08.34 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ รัฐเนวาดา ที่ความลึก 14.10 กม.
  • เมื่อ 08.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ Mona Passage เปอร์โตริโก ที่ความลึก 16.00 กม.
  • เมื่อ 06.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ มณฑลเสฉวน 四川-Yunnan (ตรงรอยต่อ) ประเทศจีน ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 06.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ประเทศโคลอมเบีย ที่ความลึก 63.90 กม.
  • เมื่อ 05.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ตอนกลางของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 15.10 กม.
  • เมื่อ 04.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 127.90 กม.
  • เมื่อ 03.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Timor ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 100.30 กม.
  • เมื่อ 03.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ มณฑลเสฉวน 四川-Yunnan (ตรงรอยต่อ) ประเทศจีน ที่ความลึก 43.20 กม.
  • เมื่อ 02.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ เกาะสุลาเวสี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 30.00 กม.
  • เมื่อ 00.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 50.90 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 19 สิงหาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 11:00 ฝนในกรุงมะนิลายังไม่หยุดตก (เครดิตภาพ @DTM_LillboyJANG
  • 10:30 พบการก่อตัวใหม่ของพายุโซนร้อน อูนาลา Unala ตอนกลางของมหาสมุรแปซิฟิค
  • 10:00 JTWC ยืนยันการสลายตัวของ  พายุดีเปรสชัน 13W 
  • 09:30 ถนนบางสายในกรุงมะนิลา (เครดิตภาพ @RevinKentot) 
  • 09:00 ความลึกของระดับน้ำในถนน Grabe yung (เครดิตภาพ @thepaulinnation
  • 07:30 พายุดีเปรสชัน 13W สลายตัวแล้ว
  • 07:00 น้ำเอ่อท่วมจากแม่น้ำ Marikina ขึ้นท่วมสองฝั่งของกรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ (เครดิตภาพ @ykkamkkam
  • 06:00 เกิดน้ำท่วมทั่วไปในกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ จากลมมรสุมที่พัดแรงด้วยพลังของพายุจ่ามี (ภาพ AFP/DND)
  • 05:03 ลมสุริยะยังลดความเร็วลงเรื่อยๆ ขณะนี้เหลือ 530 กม/วินาที สภาพพายุแม่เหล็กเหนือบรรยากาศโลกสงบลงหลายชั่วโมงแล้ว sw_dials20130819-0508
  • น้ำท่วมปากีสถานตาย 108 เจ็บ 104 จมน้ำ 770 หมู่บ้าน บ้านพัง 2,427 หลังทั่วประเทศ โดยทาง ปภ.ปากีตั้งศูนย์ช่วยเหลือ 44 แห่งแล้ว 
  • น้ำท่วมมณฑลกวางตุ้งตาย 20 หาย 7 BSATM1QCMAEaiGQ
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกา)

  • เมื่อ 23.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 19.60 กม.
  • เมื่อ 20.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Lake Baykal ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 17.90 กม.
  • เมื่อ 19.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 534.20 กม.
  • เมื่อ 18.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 1.70 กม.
  • เมื่อ 18.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 18.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 17.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่ง Chiapas ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 84.90 กม.
  • เมื่อ 15.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 28.10 กม.
  • เมื่อ 15.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 28.70 กม.
  • เมื่อ 15.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 26.90 กม.
  • เมื่อ 15.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 28.90 กม.
  • เมื่อ 14.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ทางเหนือของ สันเขาแปซิฟิคตะวันออก ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 13.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ นอกชายฝั่งของ เมืองบีโอ-บีโอ ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 10.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 106.20 กม.
  • เมื่อ 06.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ทางตะวันออกของ แคว้นแคชเมียร์ ที่ความลึก 45.10 กม.
  • เมื่อ 05.34 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 380.80 กม.
  • เมื่อ 04.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ หมู่เกาะเคอมาเดค ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 65.30 กม.
  • เมื่อ 04.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ เกาะโคดิแอค อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 04.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 03.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ประเทศตองกา ที่ความลึก 9.30 กม.
  • เมื่อ 03.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะมาเรียนา ที่ความลึก 54.00 กม.
  • เมื่อ 02.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 30.80 กม.
  • เมื่อ 02.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 87.80 กม.
  • เมื่อ 00.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 5.10 กม.