[stextbox id=”black”]เรื่องรังสีจักวาลคอสโม จากดาวอังคาร ให้ปิดมือถือ เป็นโจ๊กตลกที่ฝรั่งอำเล่นในวันเมษาหน้าโง่ April Fools’ Day ประจำปี 2008 และเลิกเล่นกันไปนานแล้วทั่วโลก เหลือแต่เมืองไทย ที่ยังนิยมแชร์เรื่องแย่ๆนี้กันต่อไปไม่จบสิ้น[/stextbox]
เหตุการณ์วันนี้
- 18:00 เส้นทางล่าสุดของพายุกรอซา คำนวนโดย TSR (เอเย่นต์อื่นอาจเห็นต่างไปจากนี้) พายุจะไปสลายตัวในเขตกัมพูชา
- 17:00 พบการก่อตัวใหม่ของดีเปรสชัน 18E ทางตะวันตกของเม็กซิโก และหย่อมความกดอากาศต่ำหย่อมใหม่ 98W ในทะเลฟิลิปปินส์
- 13:00 TSR ปรับเส้นทางพายุกรอซาอีกครั้ง พายุจะเข้ามาสลายตัวแถวจังหวัดอุบลในอีก 96 ชม (ราววันที่ 5 พ.ย.)
- 06.03 แผ่นดินไหวขนาด 6.6 [USGS] บริเวณ ใกล้ชายฝั่ง ตอนกลางของ ประเทศชิลี ที่ความลึก 10 กม. ค่า PGA%g intensity อยู่ที่ MMI ระดับ VII
- 04:00 เส้นทางไต้ฝุ่นกรอซา ลาสุดจากสำนักอุตุ 6 ประเทศ มี 3 สำนักเชื่อว่าจะเข้าไทย และ JTWC ประเมินว่าพายุจะเข้ามาถึงชลบุรี
- 03:30 ไต้ฝุ่นกรอซา กำลังจะออกจากฟิลิปปินส์ ลงสู่ทะเลจีนใต้
- 02:00 พายุดีเปรสชันเรมอนด์ สลายตัวแล้ว
- 01:30 คาดการความสว่างของดาวหางไอซอน อัพเดทล่าสุดจาก NASA สว่างได้อย่างมากก็แมกนิจูด 0 ในเดือนหน้า (ธ.ค. 56) จากนั้นก็ลดลง
- 01:00 ตำแหน่งของดาวหางไอซอน ISON ในวันนี้ (วงกลมบน) และโลกเรา (วงกลมล่าง) ห่างจากดวงอาทิตย์พอๆกัน (0.997AU) แต่ไม่ใกล้กัน (1.23AU) เครดิตภาพจาก Nectec
- 00:30 พายุดีเปรสชันเรมอนด์ ใกล้ประเทศเม็กซิโก อ่อนกำลังลงเรื่อยๆ กำลังจะสลายตัวในไม่กี่ชั่วโมงนี้
- แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม
แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )
- คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)
- แผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ มินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อเวลา 14.58 (ไทย) ที่ความลึก 68 กม. วัดค่าแบบ M
- แผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ทะเลแบนดา เมื่อเวลา 13.06 (ไทย) ที่ความลึก 314 กม. วัดค่าแบบ A
- แผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ หมู่เกาะฟิจิ เมื่อเวลา 10.24 (ไทย) ที่ความลึก 532 กม. วัดค่าแบบ A
- แผ่นดินไหวขนาด 6.4 บริเวณ ใกล้ชายฝั่ง ตอนกลางของ ประเทศชิลี เมื่อเวลา 06.03 (ไทย) ที่ความลึก 10 กม. วัดค่าแบบ A