รายงานภัยพิบัติ 30 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 พายุไต้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น เคลื่อนเข้าใกล้ไต้หวันที่พิกัด N25°05′ E122°55′ ความเร็วลม 75 น็อต ความกดอากาศ 965 hPa มุ่งหน้าต่อไปทางทะเลจีนตะวันออก
  • 20:00 ค่าฝุ่นละอองขนาด 2.5 ไมครอนในกรุงเทพฯค่ำนี้ เฉลี่ยอยู่ที่ 62 µg/m³ ควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 ขึ้นไปเมื่อต้องอยู่นอกอาคารเป็นเวลานาน
  • 15:50 กทม.มีฝนเล็กน้อยสลับปานกลางเขต บางซื่อ บางพลัด บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ ดุสิต พญาไท
  • 15:00 ภาพดาวเทียมแสดงลักษณะ และตำแหน่งของพายุไต้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ที่กำลังเคลื่อนเข้าใกล้ไต้หวันเวลานี้ อุตุฯไต้หวันหรือ CWB ประกาศเตือนภัยระดับสีม่วงซึ่งเป็นระดับสูงสุดในเทศมณฑลอี๋หลาน และเตือนภัยระดับรองลงมาในเมืองข้างเคียงแล้ว
  • 14:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 131 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=190 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน 16E ทางตะวันตกของเม็กซิโก ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า Narda เส้นทางมุ่งเข้าอ่าวแคลิฟอร์เนีย
  • 11:00 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 10:00 พายุไค้ฝุ่น “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 70 น็อต ค่าความกดอากาศ 970 hPa พิกัดเวลานี้อยู่ที่ N20°10′ E122°55′ เส้นทางเคลื่อนไปทางริมฝั่งทางตะวันออกเฉียงเหนือของไต้หวันในคืนนี้
  • 08:00 จุดความร้อนในรอบ 24 ชั่วโมงปรากฏมากในภาคกลาง 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 05:00 ค่าฝุ่นละอองขนาด 2.5 ไมครอนในกรุงเทพฯเช้านี้ เฉลี่ยอยู่ที่ 66 µg/m³ ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 ขึ้นไปเมื่อต้องอยู่นอกอาคารเป็นเวลานาน
  • ไต้หวันเตือนฝนหนักใน เถาหยวน อี๋หลาน นิวไทเป จากอิทธิพลไต้ฝุ่น “มิทาค” ที่จะเคลื่อนตัวเข้าใกล้ในวันนี้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 29 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23 :02 แผ่นดินไหว แมกนิจูด 4.4 ลึก 10 กม. พิกัด 36.5°N 149.6°E จังหวัดอิบารากิ ประเทศญี่ปุ่น ความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราชินโดะ
  • 22:57 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.7 (Mw) ลึก​ 25 กม. พิกัด​ 72.96°W 35.42°S ในทะเลใกล้ชายฝั่งตอนกลางของประเทศชิลี 
  • 22:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ทวีกำลังเป็นพายไต้ฝุ่น ความเร็วลม กศก. 65 น็อต ค่าความกดอากาศ 975 hPa พิกัดเวลานี้อยู่ที่ N20°40′ เส้นทางเคลื่อนไปทางริมฝั่งทางเหนือของไต้หวัน จากนั้นเคลื่อนไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้ต่อไปในช่วงวันที่ 2-3 ต.ค.
  • 20:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 59 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=152 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 18:00 พายุแม่เหล็กโลก KP index=5 ที่ก่อตัวตั้งแต่เช้าวานนี้ เริ่มกลับสู่สภาพปกติ
  • 16:02 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 91.52°E  11.14°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 07:15 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 07:00 ตำแหน่งศูนย์กลางพายุโซนร้อน “มิทาค” เวลานี้ ภาพศรลมแสดงแสดงความเร็วลม 55 น็อตใกล้ใจกลางพายุ 
  • 07:00 พบการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 16E ชายฝั่งตะวันตกของเม็กซิโก มีแนวโน้มทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนเคลื่อนตัวเข้าอ่าวแคลิฟอร์เนียต่อไป
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 04:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 50 น็อต ค่าความกดอากาศ 992 hPa มีแนวโน้มพัฒนาเป็นไต้ฝุ่น เส้นทางเคลื่อนไปทางทะเลจีนตะวันออก จากนั้นเคลื่อนไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้ต่อไปในช่วงวันที่ 2 ต.ค.
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

ชื่อ
วันที่ (UTC)
ระยะห่างจากโลก
ความเร็ว (กม/วินาที)
ขนาด (เมตร)
2019 SU3
2019-Sep-24
2.4 LD
2.6
15
523934
2019-Sep-24
10.9 LD
22.3
257
2019 SW1
2019-Sep-24
3 LD
12.7
13
2019 SY4
2019-Sep-24
19.9 LD
8.8
41
2019 QY3
2019-Sep-26
13.9 LD
8.4
40
2019 SP2
2019-Sep-26
5.7 LD
9.4
59
2017 KP27
2019-Sep-26
4.2 LD
4.7
25
2006 QV89
2019-Sep-27
18.1 LD
4.1
31
2019 SE5
2019-Sep-29
5.7 LD
6.6
15
2019 SO1
2019-Sep-29
11.3 LD
7.5
16
2019 SA5
2019-Sep-29
19.3 LD
7.8
24
2019 SN4
2019-Sep-29
6.5 LD
19.6
48
2019 SH3
2019-Sep-30
3.1 LD
14.2
25
2019 SN3
2019-Sep-30
2.2 LD
7.7
17
2019 SP
2019-Sep-30
6.6 LD
15.1
45
2018 FK5
2019-Oct-01
13.3 LD
10.5
8
2019 SX3
2019-Oct-02
8.7 LD
8.7
31
2018 LG4
2019-Oct-02
13.8 LD
8.1
12
2019 SP3
2019-Oct-03
1 LD
8.7
18
2017 TJ4
2019-Oct-05
13.5 LD
8.9
32
2019 SZ4
2019-Oct-06
18.7 LD
6.5
25
2019 RK
2019-Oct-08
16.7 LD
3.1
30
2019 SE2
2019-Oct-12
19.2 LD
10.2
54
162082
2019-Oct-25
16.2 LD
11.2
589
2017 TG5
2019-Oct-25
14.4 LD
11.9
34
2015 JD1
2019-Nov-03
12.9 LD
11.9
269
2010 JG
2019-Nov-12
19.6 LD
14.9
235
481394
2019-Nov-21
11.3 LD
7.9
372
2008 EA9
2019-Nov-23
10.5 LD
2.2
10

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 28 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 โมเดลเส้นทางพายุจากสำนักอุตุฯ 6 ประเทศ พายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือพายุโซนร้อน “มิทาค” Mitag ในเวลานี้ ส่วนใหญ่เห็นว่าจะเคลื่อนไปขึ้นฝั่งประเทศเกาหลีใต้ช่วงวันที่ 2 ต.ค. 62 หลังทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้ว
  • 08:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 8.76 เมตร ปริมาณ 3,443.80 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 1.76 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1143.8 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 07:00 อุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ยกระดับพายุดีเปรสัชน TD19W ที่พิกัด N15°25′ E132°05′  เป็นพายุโซนร้อน ใช้ชื่อ “มิทาค” Mitag หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 35 น็อต ค่าความกดอากาศ 1002 hPa มีแนวโน้มพัฒนาเป็นไต้ฝุ่น เส้นทางเคลื่อนไปทางทะเลจีนตะวันออก จากนั้นเคลื่อนไปทางช่องแคบ Tsushima เข้าสู่ทะเลญี่ปุ่นต่อไป
  • 07:00 เชียงราย 20°C พะเยา 20°C เชียงใหม่ 23°C ลำปาง 23°C ลำพูน 23°C แม่ฮ่องสอน 23°C เลย 22°C นครพนม 23°C น่าน 22°C แพร่ 22°C สุรินทร์ 23°C อุบลฯ 24°C ตาก 24°C นครสวรรค์ 25°C ภูเก็ต 25°C หัวหิน 27°C สนามบินสุวรรณภูมิ 27°C
  • 07:00 แผนที่ลมผิวพื้น แสดงให้เห็นลมมรสุมเปลี่ยนทิศทางเป็นตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 05:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เช้านี้ มีค่า 44 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=122 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนสีส้ม ส่งผลไม่ดีต่อผู้ป่วยทางเดินหายใจ เด็ก และคนชรา ส่งผลน้อยค่อบุคคลทั่วไป 
  • 01:00 ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 3 ลูกได้แก่ พายุดีเปรสชัน “คาเรน” และพายุเฮอเริเคน “ลอเรนโซ” ในมหาสมุทรแอตแลนติก ไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง พายุโซนร้อน 19W “มิทาค” ทางตะวันออกของทะเลฟิลิปปินส์ แนวโน้มเคลื่อนคัวไปทางทะเลญี่ปุ่น
  • แถบแสง “สตีฟ” ในสาธารณรัฐเอสโตเนีย 27 กันยายน 62 โดย Tarmo Tanilsoo “สตีฟ” STEVE (Strong Thermal Emission Velocity Enhancement) ไม่ใช่แสงเหนือ มันคือแก้สร้อน 3000°C จากดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านเกราะแม่เหล็กโลกปรากฏเป็นแสงสว่างแนวแคบยาว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 27 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:21 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.9 ลึก​ 113 กม. พิกัด​ 69.21°W  23.23°S ประเทศ​ชิลี
  • 17:58 แผ่นดินไหวขนาด 4.8 ลึก 10 กิโลเมตร พิกัด 88.68°E  37.78°N มณฑล​ซิน​เจียง​ ประเทศ​จีน
  • 13:00 TSR ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 19W บริเวณเกาะกวม มีแนวโน้มจะทวีกำลังไปจนเป็นพายุไต้ฝุ่น โดยจะได้ใช้ชื่อ “มิทาค” Mitag ตั้งโดยไมโครนีเซีย เป็นชื่อผู้หญิงในภาษายาป (ภาษาพื้นเมืองของเกาะยาปในไมโครนีเซีย) แปลว่า “ดวงตาของฉัน” เส้นทางน่าจะเคลื่อนไปทางทะเลจีนตะวันออก จากนั้นเคลื่อนไปทางช่องแคบ Tsushima 
  • 10:00 พายุดีเปรสชัน “เจอรี” สลายตัวแล้ว
  • 07:15 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 04:00 กรมอุตุ ของญี่ปุ่นหรือ JMA ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำ 91W บริเวณเกาะกวม ขึ้นเป็นพายุดีเปรสชัน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 30 น็อต ค่าความกดอากาศ 1008hPa
  • 02:15 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.9 (mb) ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 91.72°E  10.89°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย 
  • 01:00 พายุดีเปรชัน “กิโก” ทางตะวันออกของแปซิฟิกสลายตัวแล้ว เวลานี้ทั่วโลกมีพายุหมุนเขตร้อน 3 ลูก ได้แก่พายุดีเปรสชัน “เจอรี” พายุโซนร้อน “คาเรน” และ พายุเฮอริเคน “ลอเรนโซ” ในแอตแลนติกที่เวลานี้กลายเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 4
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 26 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00 มีผู้เสียชีวิต 20+ ราย (ยอดยังไม่นิ่ง) จากแผ่นดินไหว 6.4 (Mw) บริเวณเกาะอัมบน แถบเกาะเซรัม ของอินโดนีเซียช่วงเช้าที่ผ่านมา via ข่าว อัลจาเซรา
  • 09:00 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 08:00 ความเสียหายจากแผ่นดินไหว 6.4 (Mw) บริเวณเกาะอัมบน แถบเกาะเซรัม ของอินโดนีเซียช่วงเช้าที่ผ่านมา

  • 07:30 ม่อนแจ่ม ต.โป่งแยง อ.แม่ริม เชียงใหม 12°C via 
  • 07:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 45 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=122 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนสีส้ม ส่งผลไม่ดีต่อผู้ป่วยทางเดินหายใจ เด็ก และคนชรา ส่งผลน้อยต่อบุคคลทั่วไป
  • 07:00 เมืองที่มีอุณหภูมิสูงสุดในรอบ 24 ชั่วโมงจากทั่วโลก
    Failakah Island (Kuwait) 47.6°C
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:46 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.4 (Mw) ลึก 10 กม.พิกัด 128.45°E 3.56°S บนเกาะอัมบน-ฮารูกุ แถบเกาะเซรัม ประเทศอินโดนีเซีย
  • 04:00 เวลานี้ทั่วโลกมีพายุหมุนเขตร้อน 4 ลูก ได้แก่พายุดีเปรชัน “กิโก” ทางตะวันออกของแปซิฟิก พายุดีเปรชัน “เจอรี” พายุโซนร้อน “คาเรน” และ พายุเฮอริเคน “ลอเรนโซ” ในแอตแลนติก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 25 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต และเขื่อนที่มีปริมาณน้ำเก็บเก็กมากระดับวิกฤตเวลานี้ 
  • 16:00 พายุดีเปรสชัน “มาริโอ” สลายตัวแล้ว ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 5 ลูก ได้แก่ พายุโซนร้อน  “Hikaa” บนฝั่งประเทศโอมานที่กำลังจะสลายตัว พายุโซนร้อน “คาเรน” “เจอรี” และ “ลอเรนโซ” ในมหาสมุทรแอตแลนติก พายุดีเปรสชัน “กิโก” ในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกที่กำลังจะสลายตัว
  • 15:28 แผ่นดินไหว แมกนิจูด 4.4 ลึก 50 กม. พิกัด 39.3°N 142.1°E ในทะเลนอกชายฝั่งจังหวัดอิวาเตะ ประเทศญี่ปุ่น ความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราชินโดะ
  • 15:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 9.31 เมตร ปริมาณ 3,662 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 2.31 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1,362 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 13:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ได้ยกระดับหย่อมความกาอากาศต่ำ 91W ทางตะวันออกของเกาะกวมขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันลูกใหม่ เส้นทางมุ่งตะวันตก
  • 10:00 พายุไซโคลน Hikaa อ่อนกำลังเป็นพายุโซนร้อนหลังขึ้นฝั่งประเทศโอมานเมื่อคืนนี้
  • 08:51 เกิดหลุมโคโรนาขนาดใหญ่บนดวงอาทิตย์ในด้านที่หันตรงมาทางโลก ลมสุริยะในช่วงหลายวันจากนี้จะมีความเร็วเพิ่มขึ้น อาจเกิดพายุแม่เหล็กโลกเป็นผลให้เห็นแสงออโรราได้ง่ายขึ้นในประเทศที่อยู่แถบละติจูดสูงๆ
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวัง จากกรมชลประทาน
  • พายุไซโคลน Hikaa เคลื่อนตัวจากทะเลอาหรับ ขึ้นฝั่งประเทศโอมานเมื่อคืนนี้ เครดิต Weather Events [wpvp_embed type=youtube video_code=ftYLyDk6XMU width=560 height=315]
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 24 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 สภาพความเสียหายจากแผ่นดินไหวในปากีสถาน ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 19+ ราย (ยอดยังไม่นิ่ง บาดเจ็บ 300+ ราย  [wpvp_embed type=youtube video_code=0pm-BZCqRD0 width=560 height=315]
  • 20:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต และเขื่อนที่มีปริมาณน้ำเก็บเก็กมากระดับวิกฤตเวลานี้
  • 19:00 ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 6 ลูก ได้แก่ พายุไซโคลน  “Hikaa” ในทะเลอาหรับ พายุโซนร้อน “คาเรน” “เจอรี” และ “ลอเรนโซ” ในมหาสมุทรแอตแลนติก พายุโซนร้อน “กิโก” พายุดีเปรสชัน “มาริโอ” ในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก
  • 18:01 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.3 (Mw) ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 73.80°E 33.04°N จุดศูนย์กลางใกล้กับเมือง “มีร์ปุระ” (Mirpur) ประเทศ​ปากีสถาน (ทาง EMSC วัดขนาดได้ 5.9) 
  • 13:45 พายุไซโคน Hikka ในทะเลอาหรับ เคลื่อนเข้าใกล้ฝั่งประเทศโอมาน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางราว 120-130 กม./ชม คาดวา่าจะขึ้นฝั่งภายในคืนนี้
  • 10:00 ภาพระดับน้ำใน อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี วันนี้ via 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 07:00 สรุปสถานการณ์น้ำวันนี้จากกรมชลประทาน
  • 04:00 พายุโซนร้อน 03A ในทะเลอาหรับ ได้ชื่อเรียกว่า “Hikaa” ล่าสุดทวีกำลังเป็นพายุไซโคลน ความเร็วลมประมาณ 130 กท./ชม ทิศทางมีแนวโน้มมุ่งหน้าไปขึ้นฝั่งประเทศโอมาน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 23 กันยายน 2562 (วันศารทวิษุวัต)

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุ “ตาปะฮ์” ในทะเลญี่ปุ่น สลายตัวแล้ว
  • 19:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต และเขื่อนที่มีปริมาณน้ำเก็บเก็กมากระดับวิกฤตเวลานี้ 
  • 15:00 เกิดการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน 13L ทางชายฝั่งแอฟฟริกา แนวโน้มจะกลายเป็นเฮอริเคนลูกใหม่ ขณะที่พายุดีเปรสชัน 12L ในแอตแลนติกใกล้เวเนซูเอลาทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนได้ชื่อเรียกว่า “คาเรน” Karen เคลื่อนตัวเข้าทะเลแคริบเบียน ขณะที่พายุโซนร้อน “เจอรี” Jerry ทางใต้ของเบอร์มิวดาแนวโน้มเคลือ่นตัวขึ้นเหนือ
  • 14:00 ระดับน้ำที่ท่วมโรงเรียนบ้านหนองกินเพล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ลดลงแล้ว จากที่เคยท่วมสูงครึ่งกระดานดำ via 
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน “มาริโอ” และ “ลอเรนา” เคลื่อนตัวขนาบ 2 ด้านของคาบสมุทรรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ของประเทศเม็กซิโก ขณะที่พายุโซนร้อน “กิโก” เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกมีแนวโน้มจะอ่อนกำลังและสลายตัวโดยไม่เข้าใกล้ประเทศใด
  • 08:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 9.7 เมตร ปริมาณ 3,813.50 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 2.7 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1,513.50 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:00 พายุไต้ฝุ่น “ตาปะฮ์” หรือพายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุุ่น อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน ควมเร็วลม กศก. 45 น็อต ค่าความกดอากาศ 994 hPa ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N44°35′ E144°35 ในทะเล​ญี่ปุ่น​ เคลื่อนไปทางฮอกไกโด
  • 05:32 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 4.9 ลึก 10 กม. นอกชายฝั่งทางใต้ของเกาะสุมาตรา
  • 04:00 หย่อมความกดอากาศ 96A ในทะเลอาหรับ ยกระดับเป็นพายุดีเปรสชัน 03A ล่าสุดทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ทิศทางมุ่งไปทางโอมาน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 22 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 JMA ประกาศเตือนพายุตาปะฮ์ระดับสีแดงในภูมิภาคคิวชู ชิโกกุ ชุโงกุ โดยให้ระวังดินถล่มในจังหวัดเอฮิเมะและมิยาซากิ
  • 21:00 พายุไต้ฝุ่น “ตาปะฮ์” หรือพายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุุ่น ควมเร็วลม กศก. 60 น็อต ค่าความกดอากาศ 985 hPa ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N34°00′ E129°55 ในช่องแคบ Tsushima ทางเหนือของเกาะคิวชู เส้นทางมีแนวโน้ม​เคลื่อน​เข้า​ทะเล​ญี่ปุ่น​ต่อไป​
  • 13:00 สถานการณ์ฝุ่นควันในแหลมมาลายูวันนี้เข้าขั้นเลวร้าย ในแถบ Jambi สุมาตราซึ่งเป็นจุดที่ใกล้การเผาป่า ค่า AQI ขึ้นไปถึง 635 มาเลเซียและสิงคโปร์เป็นโซนแดงและส้มเกือบทั้งประเทศ ของไทยเราในเขตจังหวัดสตูลเที่ยงนี้ค่า AQI สูงถึง 171 ยะลา 151หาดใหญ่ 137 เตือนให้สวมหน้ากาก N95
  • 12:00 การเผาป่าบนเกาะสุมาตรา ทำให้ท้องฟ้าเมืองจัมบิกลายเป็นสีแดงไม่ต่างจากดาวอังคาร
  • 07:00  สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 9.83 เมตร ปริมาณ 3,898.50 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 2.83 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1,598.50 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 01:00 หลังพายุฮัมเบอร์โตสลายตัว โลกเวลานี้เหลือพายุหมุนเขตร้อน 5 ลูก ทาง TSR ถือว่าเป็นพายุโซนร้อนทุกลูก โดยทางมหาสมุทรแอตแลนติกมี “เจอรั” ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกมี “กิโก” “มาริโอ” และ “ลอเรนา” ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกมี “ตาปะฮ์” (ลูกนี้ทาง JMA ยังถือเป็นไต้ฝุ่น)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 21 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:00  พายุไต้ฝุ่น “ตาปะฮ์” หรือพายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุุ่น ควมเร็วลม กศก. 65 น็อต ค่าความกดอากาศ 970 hPa ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N28°35′ E125°30 ในทะเลจีนตะวันออก คาดว่าจะมุ่งไปทางเกาะ Tsushima เพื่อเข้าสู่ทะเลญี่ปุนในช่วงค่ำวันพรุ่งนี้
  • 19:00 พายุเฮอริเคน “ลอเรนา” เคลื่อนตัวเข้าอ่าวแคลิฟอร์เนีย ก่อฝนหนัก น้ำท่วมขังในหลายเมืองในรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ของประเทศเม็กซิโก
  • 14:00 ภาพระดับน้ำที่ท่วมบ้านคูสว่าง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี  วันนี้ via 
  • 13:35 กลุ่มฝนกินพื้นที่กว้างปกคลุมภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออก
  • 10:00 พายุเฮอริเคน ฮัมเบอร์โต Humberto อ่อนกำลังเป็นพายุโซนร้อนและดีเปรสชันตามลำดับ ล่าสุดสลายตัวแล้ว
  • 07:00  พายุโซนร้อน “ตาปะฮ์” หรือพายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุุ่น เวลานี้ทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้ว ความเร็วลม กศก. 65 น็อต ค่าความกดอากาศ 970 hPa ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N26°10′ E125°50′ เคลื่อนผ่านหมู่เกาะริวกิว-โอกินาวาแล้ว คาดว่าจะเข้าทะเลจีนตะวันออกช่วงค่ำของวันนี้
  • 07:00  สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 9.97 เมตร ปริมาณ 4,000 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 2.97 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1,700 m³/วินาที
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)