รายงานภัยพิบัติประจำอังคาร 30 ตุลาคม 2561

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:11 ฝนตกหนัก ตำบลตลาดใหญ่ เมืองภูเก็ต
  • 19:00 ไต้ฝุ่น “ยวี่ถู่” หรือที่ฟิลิปปินส์เรียก “Rosita” ในทะเลจีนใต้ อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน พายุเคลื่อนที่ต่อไปโดยจะเลี้ยวยูเทิร์นไปทางช่องแคบไต้หวัน
  • 13:00 ไต้ฝุ่น “ยวี่ถู่” หรือที่ฟิลิปปินส์เรียก “Rosita” เคลื่อนตัวจากเกาะลูกซอนของฟิลิปปินส์ลงทะเลจีนใต้แล้วในเวลานี้ ในความแรงเทียบเท่าระดับ 1 ตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน พายุเคลื่อนที่ต่อไปโดยจะเลี้ยวยูเทิร์นไปทางไต้หวันหรือช่องแคบไต้หวัน
  • 10:00 สภาพน้ำป่าไหลหลากในจังหวัด Kalinga ของฟิลิปปินส์จากอิทธพลของไต้ฝุ่น “ยวี่ถู่” หรือที่ฟิลิปปินส์เรียก “Rosita”  เครดิตภาพ carlo ibañez 
  • 09:22 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 4.9 ลึก 10 กม.พิกัด 75.05°E 39.43°N ทางใต้ของมณฑลซินเจียง ประเทศจีน
  • 09:20 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.9 ลึก 10 กม.พิกัด 129.09°E 6.58°N ในทะเลทางตะวันออกของฟิลิปปินส์
  • 09:13 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 5.8 ลึก 224 กม.พิกัด 175.09°E 39.07°S เกาะเหนือนิวซีแลนด์
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
  • 07:00 เช้านี้ กระแสลมผิวพื้นในเมดิเตอเรเนียนยังพัดแรง หลังหนุนน้ำทะเลเข้าท่วมนครเวนิซของอิตาลีวานนี้ 
  • 03:30 ไต้ฝุ่น “ยวี่ถู่” หรือที่ฟิลิปปินส์เรียก “Rosita” ขึ้นฝั่งเกาะลูกซอนของฟิลิปปินส์แล้วในเวลานี้ ในความแรงเทียบเท่าระดับ 2 ตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน พายุเคลื่อนที่ต่อไปโดยจะลงสู่ทะเลจีนใต้ จากนั้น เป็นไปได้ว่าจะเลี้ยวไปทางมณฑลฝูเจี้ยนหรือไต้หวันหรือช่องแคบไต้หวัน
  • 06:00 เช้านี้ยอดดอยอินทนนท์ อุณหภูมิ 9°C 
  • กระแสลมแรงหนุนน้ำทะเลไหลท่วมพื้นที่กว่า 70% ของนครเวนิส ประเทศอิตาลีวานนี้ ท่วมสูงสุดนับจากธันวาคม 2008 ข่าวเดอะการ์เดียน เครดิตภาพล่างสุด 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้า บ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี SRDT เขื่อนศรีนครินทร์ ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวจาก Geogon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้

รายงานภัยพิบัติประจำจันทร์ 29 ตุลาคม 2561

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 อัพเดทเส้นทางไต้ฝุ่น “ยวี่ถู่” 玉兔 Yutu หรือที่ฟิลิปปินส์เรียก “Rosita” จากการประเมินของสำนักอุตุฯ 6 ประเทศ พายุจะขึ้นฝั่งเกาะลูกซอนของฟิลิปปินส์ในความแรงเทียบเท่าระดับ 2 ตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน จากนั้นจะเคลื่อนลงทะเลจีนใต้ จากนั้น มีเฉพาะ JTWC ที่เห็นว่าพายุจะไปขึ้นฝั่งมณฑลฝูเจี้ยน สำนักอื่นเห็นว่าพายุจะหันกลับไปทางไต้หวันหรือช่องแคบไต้หวัน
  • 20:30 ฝนฟ้าคะนองที่ภูเก็ต ดูภาพเรดาร์
  • 18:00 เมฆ cb ก่อฝนตกใน จ.ราชบุรี มองเห็นจากใน กทม via @Dreamily4M 
  • 16:00 พายุโซนร้อนออสการ์ในแอตแลนติกเหนือ ทวีกำลังเป็นพายุเฮอริเคน เส้นทางมีแนวโน้มจะหันกลับไปทางยุโรปหากไม่สลายตัวเพราะกระแสน้ำเย็นเสียก่อน
  • 15:00 ฝนตกเล็กน้อยถึงปานกลาง อ.บ้านแพ้ว และ อ.เมืองสมุทรสาคร
  • 13:00 ไต้ฝุ่นะดับ 3  “ยวี่ถู่” 玉兔 Yutu  หรือทางฟิลิปปินส์เรียกว่า “Rosita” อ่อนกำลังลงเป็นไต้ฝุ่นระดับ 2 คาดว่าจะขึ้นฝั่งฟิลิปปินส์ในวันพรุ่งนี้ 
  • 07:00 อัพเดทเส้นทางไต้ฝุ่น “ยวี่ถู่” 玉兔 Yutu หรือที่ฟิลิปปินส์เรียก “Rosita” จากการประเมินของสำนักอุตุฯ 6 ประเทศ พายุจะขึ้นฝั่งเกาะลูกซอนของฟิลิปปินส์ในความแรงเทียบเท่าระดับ 2 ตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน จากนั้นจะเคลื่อนลงทะเลจีนใต้แล้วเลี้ยวขวาไปทางมณฑลฝูเจี้ยนโดยอ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้า บ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี SRDT เขื่อนศรีนครินทร์ ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวจาก Geogon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 2 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 ทุ่นเตือนสึนามิของไทย (23401) นอกชายฝั่งภูเก็ต ตำแหน่ง 8.905°N 88.540°E หยุดส่งสัญญาณมาตั้งแต่ 21 ส.ค.56 (ใช้สัญญาณจาก ทุ่น 23227 ของอินเดีย ทางตะวันตกของภูเก็ต ตำแหน่ง 6.255°N 88.792°E แทน)
    23401
  • 21:00 กรมชลประทาน ตัดยอดน้ำ ไปลงแม่น้ำน่าน ผ่านคลองหกบาท  สถานี  Y.4 ต่ำกว่าตลิ่ง 1.58 เมตร ในภาพคือบริเวณสะพานพระร่วง เวลานี้ 
  • 16.07 อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ฝนตกหนัก
  • 15:00 เกิดพายุทอร์นาโดในโตเกียว บาดเจ็บ 63 ราย บ้านพัง 68 หลัง รถ 27 คัน    [wpvp_embed type=youtube video_code=YvtpqBgntAM width=560 height=315]
  • 13:00 ทาง JTWC ก็ข้ามชื่อยู่ทู่ Yutu ไปใช้ชื่อโทราจีเช่นกัน และบริเวณที่เกิดfugxil=yo Yutu ทาง JTWC ให้เป็นเพียงหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W
  • 13:00 ตำแหน่งล่าสุดของพายุโซนร้อนโทราจี จาก JMA 
  • 11.30 แผ่นดินไหวขนาด 6.1 บริเวณ Bougainville ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 49.40 กม. 
  • 11:00 คำตอบได้รับการเฉลย TSR “ข้ามชื่อ” พายุ Yutu ไปใช้ชื่อโทราจีสำหรับ TD15W เลย 
  • 08:30 ทาง TSR ยังคงสภาพการประกาศการก่อตัวของพายุในแบบเดิม คือให้ 96W เป็น TD15W ซึ่งอาจมีปัญหาในการใช้ชื่อพายุอันดับถัดไป 
  • 04:00 ทาง JMA ประกาศการก่อตัวของพายุต่างจากทาง JTWC/TSR โดยให้พายุลูกขวามือในภาพหรือ 1316 (รหัสของ JMA) เกิดก่อน จึงจะได้ชื่อเรียก ยู่ทู่  ไปก่อน และลูกด้านซ้ายมือในภาพหรือ 1317 (รหัสของ JMA) เกิดหลัง จึงจะได้ชื่อเรียก โทราจิ ซึ่งทาง JTWC/TSR กลับให้ลูกซ้ายมือเกิดก่อน โดยยังไม่ระบุการเป็นพายุของลูกขวามือหรือ 1316 เลย 1317-00
  • 01:00 ทางอุตุฯฮ่องกงหรือ HKO ยังไม่ประกาศให้หย่อมความกดอากาศต่ำ 96W เป็นพายุดีเปรสชันตาม JMA/TSR/JTWC แต่ประกาศการก่อตัวของพายุยู่ทู่กลางแปซิฟิคแล้ว twnew-20130902
  • พายุดีเปรสชันลูกที่ 15 หรือ TD15W นี้ เมื่อมีความเร็วถึง 35 น็อต จะได้รับชื่อว่า Yutu ยู่ทู่ 玉兔 หรือกระต่ายหยก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง /  เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.20 กม.
  • เมื่อ 22.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 22.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 97.60 กม.
  • เมื่อ 21.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 106.30 กม.
  • เมื่อ 19.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.00 กม.
  • เมื่อ 19.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ เกาะแวนคูเวอ ประเทศแคนาดา ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 19.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 58.00 กม.
  • เมื่อ 19.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Arkansas ที่ความลึก 12.50 กม.
  • เมื่อ 18.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.40 กม.
  • เมื่อ 18.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 113.00 กม.
  • เมื่อ 17.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 128.70 กม.
  • เมื่อ 16.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 52.50 กม.
  • เมื่อ 16.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 145.70 กม.
  • เมื่อ 15.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 24.00 กม.
  • เมื่อ 15.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 24.60 กม.
  • เมื่อ 13.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 79.30 กม.
  • เมื่อ 13.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 12.00 กม.
  • เมื่อ 12.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 11.50 กม.
  • เมื่อ 11.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 บริเวณ Bougainville ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 49.40 กม.
  • เมื่อ 10.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Ascension Island ที่ความลึก 9.70 กม.
  • เมื่อ 10.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ หมู่เกาะเคอมาเดค ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 90.20 กม.
  • เมื่อ 09.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 บริเวณ Primor’ye ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 442.50 กม.
  • เมื่อ 09.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 166.30 กม.
  • เมื่อ 08.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศอิตาลี ที่ความลึก 301.00 กม.
  • เมื่อ 06.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 56.30 กม.
  • เมื่อ 06.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 54.00 กม.
  • เมื่อ 05.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 1.00 กม.
  • เมื่อ 04.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 97.90 กม.
  • เมื่อ 03.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ San Francisco Bay area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 7.60 กม.
  • เมื่อ 02.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 บริเวณ หมู่เกาะเคอมาเดค ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 00.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 84.00 กม.