รายงาน​ภัยพิบัติ​ 18 พฤศจิกายน​ 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:45 เรดาร์​ฝน​ TMD สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​​ตอน​ล่าง​
  • 18:37 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.8 (mb) ลึก​ 79 กม. พิกัด​ 102.99°E 4.62°S ในทะเล​ริมฝั่ง​ทางตะวันตก​ของ​เกาะ​สุมาตรา​
  • 18:00 รายชื่อเขื่อนที่มีปริมาณ​น้​ำ​คงเหลือ​ใช้การได้​น้อย​ในระดับ​วิกฤต​ (ปัญหา​ภัยแล้ง)​ และ ปริมาณ​น้ำเก็บ​กัก​มากในระดับ​วิกฤต​ (ปัญหา​น้ำท่วม)​ ในเวลานี้
  • 17:15 เรดาร์​ฝน​ TMD สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​​ตอน​ล่าง​เ
  • 15:26 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก​106 กม. พิกัด ​69.02°W 20.31°S ประเทศ​ชิลี
  • 14:03 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 ลึก​ 165 กม. พิกัด ​68.78°W 29.13°S ประเทศ​อาร์เจน​ติ​นา​
  • 13:24 น้ำทะเลหนุนสูง ท่วมชุมชนบ้านขอม ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร Cr.อาสาร่วมด้วยบ้านขอม 001
  • 12:00 ปริมาณ CO₂ ในบรรยากาศโลกเวลานี้  (ส่วนต่อล้านส่วน)  วัดที่หอสังเกตเการ์ฮาวาย
  • 11:42 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 (Mw) ลึก​ 50. พิกัด​ 100.46°E 1.82°S นอก​ชายฝั่ง​ทาง​ตะวันตก​ของ​เกาะ​สุมาตรา​
  • 11:30 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศ​ไทยวันนี้ พบผู้ป่วยใหม่ 2 ราย ยอดผู้ป่วยสะสมยืนยันแล้ว 3,880 ราย เสียชีวิต​ราย​ใหม่​ 0 ราย รวมเสียชีวิต​สะสม 60 ราย​
  • 08:06 น้ำทะเลหนุน พื้นที่สำโรง ถ.รถรางสายเก่า บริเวณแยกปู่เจ้าสมิงพราย มุ่งหน้าสรรพวุธ มีน้ำท่วมขัง Cr.RT@Eve_PRD,แจ้งเหตุปราการ
  • 05:45 เรดาร์​ฝน​ TMD สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​​ตอน​ล่าง​
  • 04:00 สรุปยอด COVID-19 ทั่วโลก แสดงเฉพาะประเทศที่มีผู้ป่วยสะสมที่ยืนยันแล้วมากกว่า 400,000 ราย
  • 04:00 พายุเฮอริเคน​ “ไอ​โอ​ตา” อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซน​ร้อน​บริเวณ​พรมแดนประเทศ​ฮอนดูรัส​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​ลดลง​เหลือ​ 50 น็อต​ แนวโน้ม​อ่อน​ก​ำ​ลัง​ต่อเนื่องเป็นดีเปรสชัน​
  • 04:00 พบการ​ก่อ​ตัวใหม่​ของ​พายุ​ดี​เป​ร​สชัน 21E ทางตะวันออก​ของ​มหาสมุทร​แปซิฟิก​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​ 30 น็อต​ แนวโน้ม​เคลื่อนตัว​ไป​ทางตะวันตก​
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อน​กิ่วลม จ.ลำปาง(LAMP) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 06:45 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ​ 11 กุมภาพันธ์ 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 เกิดพายุฤดูหนาวปกคลุม อุณหภูมิลดต่ำลง และมีหิมะตกในกรุงแบดแดดของนครหลวงของอิรักเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2008 ซึ่งในครั้งก่อนเป็นหิมะที่ตกแบบละลายเร็วแทบไม่เห็นเกล็ด แต่หากนับหิมะตกจริงจังครั้งนี้ต้องถึงเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ 100 ปี ในเมืองที่มีอุณหภูมิสูงถึง 51°C ในฤดูร้อนแห่งนี้ เครดิตภาพและรายละเอียดข่าวจาก อัลจาซีรา

    An Iraqi girl plays with her mother in the snow in the holy Shiite city of Karbala on February 11, 2020. – Iraq’s capital Baghdad woke up covered in a thin layer of fresh snow, an extremely rare phenomenon for one of the world’s hottest countries. Snow also covered the Shiite holy city of Karbala further south and Mosul in the north, where heavier precipitation left a blanket of snow over the city’s centuries-old ruins. (Photo by Atta KENARE / AFP)

  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:30 กรุงเทพฯ​ 27°C เชียงราย​ 18°C เชียงใหม่​ 19°C ล​ำ​ปาง​ 18°C แม่ฮ่องสอน​ 17°C เลย 15°C มุกดาหาร​ 19°C โคราช​ 22°C ขอนแก่น​ 19°C กาญจนบุรี​ 23°C อุดร​ฯ 17°C อุบล​ฯ 22°C ชลบุรี​ 27°C ภูเก็ต​ 26°C
  • 01:20 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (mb) ลึก​ 50 กม. พิกัด​ 93.24°E 13.16°N ทาง​ตะวันออก​ของ​หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย​
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหวัดระนอง (RNTT) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 15 พฤศจิากยน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 สถานการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำโขงวันนี้
  • 13:00 แบบจำลองพายุจากสำนักอุตุนิยม 6 ประเทศ ส่วนใหญ่เห็นว่าพายุโซนร้อน “คัลแมกี” หลังผ่านเกาะลูซอนของฟิลิปปินส์ จะไปสลายตัวบริเวณ​ตอนกลาง​ของ​ทะเลจีนใต้ มีเฉพาะอุตุนิยมญี่ปุ่นหรือ JMA เห็นว่าพายุอาจไปสลายตัวถึงในทะเลเวียดนาม
  • 08:46 ระดับน้ำทะเลหนุนสูงข้างห้างอิมพีเรียลสำโรงสมุทรปราการ
  • 08:30 ระดับน้ำทะเลหนุนสูงที่จังหวัดสมุทรสงคราม 
  • 07:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “คัลแมกี” มีพิกัดล่าสุดอยู่ที่ N16°40′ E126°30′ ความเร็วลม 40 น็อต ความกดอากาศ 998 hPa มุ่งหน้าไปขึ้นฝั่งเกาะลูซอนของฟิลิปปินส์อย่างช้าๆ และทาง JMA คาดว่าพายุจะเลยไปสลายตัวในทะเลจีนใต้
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:50 กรุงเทพฯ​ 25°C เชียงราย 20°C เชียงใหม่​ 22°C ลำปาง​ 20°C พะเยา 20°C แม่ฮ่องสอน 21°C โคราช 22°C น่าน 21°C สุรินทร์​ 19°C ร้อยเอ็ด​ 22°C อุบล​ 20°C อุดร 21°C มุกดาหาร​ 22°C หนองคาย​ 21°C เลย 18°C พัทยา 25°C ภูเก็ต​ 25°C กาญจนบุรี​ 26°C สงขลา​ 25°C
  • 03:52 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 4.6 ลึก 146 กม.พิกัด 74.67°W 8.56°S พรมแดนเปรู-บราซิล
  • 00:26 PTWC ออกเอกสาร​ฉบับ​ที่​ 2 ยกเลิก​การเตือนสึนามิ​จาก​แผ่นดินไหว​ขนาด​ 7.0 ที่ทะเลโมลุกกะ
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 11 สิงหาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 ปริมาณ CO₂ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโลก 410.56 ส่วนในล้านส่วน อยู่เหนือเส้น 400 ค่อนข้างมากและไม่มีแนวโน้มลดลง
  • 22:00 พายุโซนร้อน “เลกีมา” เคลื่อนตัวจากทะเลปั๋วไห่ขึ้นฝั่งมณฑลชานตง  ความเร็วลม กศก.ล่าสุด 45 น็อต ศูนย์กลางพายุอยู่ที่ N36°30′ E120°00′ เริ่มอ่อนกำลังลง
  • 15:00 ยอดผู้เสียชีวิตจากน้ำท่วมจากฝนมรสุมในอินเดียแตะ 147 ราย [ข่าวรอยเตอร์]
  • 13:00 พายุโซนร้อน “เลกีมา” เคลื่อนตัวลงทะเลปั๋วไห่ ความเร็วลม กศก.ล่าสุด 45 น็อต เส้นทางยังคงมุ่งขึ้นทางทิศเหนือ แนวโน้มอ่อนกำลังลง
  • 07:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “เลกีมา” ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa ยังเคลื่อนตัวอยู่บนฝั่งประเทศจีน พิกัดล่าสุดอยู่ที่ N33°35′ E120°05′ เหยียนเฉิง มณฑลเจียงซู แนวโน้มยังเคลื่อนตัวขึ้นทางเหนือ 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:11 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.2 (Mw) ลึก​ 47 กม. พิกัด​ 99.36°E  0.74°S นอกชายฝั่งทางตะวันตกของเกาะสุมาตรา
  • ยอดผู้เสียชีวิตในจีนจากน้ำท่วมดินถล่มด้วยอิทธิพลพายุไต้ฝุ่น “เลกีมา” ล่าสุด 22+ ราย (ยอดยังไม่นิ่ง) สูญหายหลายราย และไร้ที่อยู่อาศัยอีกหลายแสนราย [ข่าว BBC]
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 30 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:30 พายุโซนร้อนเรมอนด์ทางตะวันตกของเม็กซิโก ลดกำลังลงเป็นดีเปรสชัน
  • 15:50 สิงคโปร์ เกิดน้ำท่วมขัง บริเวณสี่แยกถนนไชชี ตัดกับถนนนิวอัปเปอร์ชางงี หลังเกิดฝนตกหนักเมื่อชั่วโมงที่ผ่านมา 
  • 15:47 แม่จัน เชียงราย ฝนตก
  • 15:30 เส้นทางพายุโซนร้อนกรอซา จากสำนักอุตุฯ 6 ประเทศล่าสุด มีเฉพาะ JTWC ของอเมริกาที่ระบุว่าพายุจะขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 11:57 ดีเปรสชันกรอซา ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน มุ่งหน้าไปขึ้นฝั่งฟิลิปปินส์ 
  • 09:51  มีรายงานแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ลึก 10 กม. โดย [GFZ] ส่วนทาง [USGS] วัดได้ 5.6 ลึก 35 กม บริเวณชายฝั่งของ ตอนกลางของ ประเทศชิลี  รอการปรับค่า
  • 06:30 ภาพจากดาวเทียม MTSAT-2 แสดงลักษณะของดีเปรสชันกรอซาในทะเลฟิลิปปินส์เวลานี้ มีการปะเมินจาก JTWC ว่าพายุจะขึ้นฝั่งเวียดนามแถวเมืองวิงห์ แล้วไปสลายตัวแถวรอยต่อประเทศลาวแถว จ.เหง่อาน (Cr.@Medhasith)
  • 05:30 พายุ St.Jude เคลื่อนเข้าถล่มทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัสเซีย หลังสร้างความเสียหายมากมายในยุโรป รวมทั้งอีก 15 ชีวิตในทางผ่านพายุ BXvos9kCcAIuyUc
  • 05:00 ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกคือ พายุโซนร้อนเรมอนด์ทางตะวันตกของเม็กซฺโกและพายุดีเปรสชันกรอซา ในทะเลฟิลิปปินส์ TSR-20131030-0600
  • 04:54 เกิดการลุกจ้าขนาด X2.3 บริเวณจุดดับหมายเลข 1875 บนดวงอาทิตย์oct29_2013_x2.3
  • 00:50 จุดดับ 1882 และ 1885 ที่ปะทุรุนแรงไปวานซืน ขณะนี้กำลังหันหน้าตรงมาทางโลก ซึ่งมีการคาดากรณ์การว่าจะมีการปะทุอีกlatest_strip
  • ขนาดของน้ำแข็งขั้วโลกเหนือที่หดเล็กลง จากมกราคม 1981 ถึงล่าสุด กันยายน 2013 n_plot
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 20 พฦษภาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:45 ฝนตกปรอยๆ เขตบางบอน บางขุนเทียน
  • 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5  บริเวณ นอกชายฝั่งตะวันตก ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม. ทาง PTWC ไม่เตือนสึนามิ ตามเอกสารนี้  (Geofon วัดได้ Mw6.2) เป็นการเคลื่อนตัวแบบ Transform Mo=2.6 x 1018gfz2013jusj
  • ตำแหน่งล่าสุดเวลานี้ของดาวหาง ISON ยังไม่เลยวงโคจรดาวอังคารเข้ามา 
  • ขนาดของน้ำแข็งขั้วโลกล่าสุด น่าแปลกที่ขั้วโลกเหนือหดเล็กลงตามที่รู้กันดีจากที่ออกข่าวเรื่องภาวะโลกร้อนแต่..น้ำแข็งขั้วโลกใต้กลับขยายใหญ่ขึ้น คำถามคือ ทำไม?
  • สภาพความเสียหายบางส่วนในเมืองคาร์เนย์ รัฐโอกลลาโอมา หนึ่งในหลายจุดที่โดนทอร์นาโดถล่มวานนี้ ภาพโดย Jessica Schambach 
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 21.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Minahasa เกาะสุลาเวสี, ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 209.60 กม.
  • เมื่อ 21.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 83.60 กม.
  • เมื่อ 21.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 45.00 กม.
  • เมื่อ 20.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 52.80 กม.
  • เมื่อ 19.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 30.50 กม.
  • เมื่อ 17.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.80 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.80 กม.
  • เมื่อ 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 6.5 บริเวณ นอกชายฝั่งของ Aisen ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 15.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 6.70 กม.
  • เมื่อ 14.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 120.90 กม.
  • เมื่อ 14.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 24.80 กม.
  • เมื่อ 13.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 40.00 กม.
  • เมื่อ 10.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 49.00 กม.
  • เมื่อ 10.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 15.10 กม.
  • เมื่อ 08.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 4.50 กม.
  • เมื่อ 08.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 42.60 กม.
  • เมื่อ 07.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 28.00 กม.
  • เมื่อ 07.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 30.20 กม.
  • เมื่อ 07.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 110.70 กม.
  • เมื่อ 07.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 33.20 กม.
  • เมื่อ 07.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 60.10 กม.
  • เมื่อ 07.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 43.00 กม.
  • เมื่อ 06.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 58.80 กม.
  • เมื่อ 06.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 49.70 กม.
  • เมื่อ 06.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 70.20 กม.
  • เมื่อ 06.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 78.20 กม.
  • เมื่อ 05.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40.10 กม.
  • เมื่อ 05.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 05.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 04.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 13.00 กม.
  • เมื่อ 04.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 04.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 15.00 กม.
  • เมื่อ 04.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 58.00 กม.
  • เมื่อ 04.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.30 กม.
  • เมื่อ 03.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 341.30 กม.
  • เมื่อ 03.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.70 กม.
  • เมื่อ 03.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 86.20 กม.
  • เมื่อ 03.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 11.30 กม.
  • เมื่อ 02.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 92.70 กม.
  • เมื่อ 02.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 54.10 กม.
  • เมื่อ 02.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 52.50 กม.
  • เมื่อ 02.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 48.60 กม.
  • เมื่อ 02.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 54.30 กม.
  • เมื่อ 02.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 23.00 กม.
  • เมื่อ 01.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 19.10 กม.
  • เมื่อ 01.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 44.10 กม.
  • เมื่อ 01.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 53.80 กม.
  • เมื่อ 01.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 00.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 59.70 กม.
  • เมื่อ 00.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40.30 กม.

ปี 2011 โลกร้อนทำสถิติสูงสุดเป็นปีที่ 9


อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก เพิ่มสูงขึ้นตลอดจากช่วงปี 1880 หรือ 131 ปีที่ผ่านมา โดยในปี 2011 หรือปีที่แล้ว อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก ทำสถิติสูงสุดเป็นปีที่ 9 ในจำนวนปีทั้งหมดตั้งแต่เริ่มบันทึก และจากกราฟด้านบน เราจะเห็นชัดเจนว่าก่อนปี 2000 มีปีเดียวที่โลกร้อนทำสถิติสูงสุดคือปี 1998 แต่หลังจากปี 2000 เป็นต้นมา ไม่มีปีไหนเลยที่โลกเราจะกลับเย็นลงไปได้อีก โดยสาเหตุหลักของอุณหภูมิที่ทวีสูงขึ้นยังเป็นที่ถกเถียงกันว่ามาจากวัฏจักรโดยปกติของโลกเราเองหรือจากการสะสมตัวของคาร์บอนและสภาพเรือนกระจกโดยฝีมือมนุษย์ อย่างไรก็ตาม อุณหูมิที่เพิ่มสูงในทศวรรษล่าสุดนี้ ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ ต่อสภาพลมฟ้าอากาศที่วิปริตแปรปรวน หรือที่เรียกว่า “ภูมิอากาศแบบสุดขั้ว (Extreme weather)”

ภาพแสดงปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ (ส่วนต่อล้านส่วน)ภาพแสดงการเพิ่มขึ้นสูงผิดปกติในอุณหภูมิเฉลี่ยของน้ำทะเลและผิวดินตั้งแต่ปี 1880

ภาพแสดงการเพิ่มขึ้นสูงผิดปกติในอุณหภูมิเฉลี่ยของน้ำทะเลและผิวดินตั้งแต่ปี 1880ภาพด้านบน แสดงปริมาณฝนที่เพิ่มสูงผิดปกติในปี 2010 และ 2011
ขนาดของขั้วโลกเหนือเปรียบเทียบระหว่างปี 2011 จะเห็นว่าเล็กกว่าช่วงปี 1979-2000 มาก

ความผิดพลาดในคำทำนายเกี่ยวกับสภาพอากาศโลกของ IPCC

IPCC กับคำทำนายที่น่าตื่นตระหนกที่ได้ลงตีพิมพ์ใน นิวยอร์คไทมส์
เดือนกันยายน 1995 มีรายงานจาก นิวยอร์คไทมส์ว่า นักวิทยาศาสตร์ของ IPCC ได้มีคำพยากรณ์ถึงความเปลี่ยนแปลงอย่างใกญ่หลวงของสภาพอากาศโลกออกมา (ตอนนั้น IPCC กำลังเตรียมออกภาคประเมิณ SAR ในปี 1996)

ตาม Link ด้านล่างนี้
http://select.nytimes.com/gst/abstract.html?res=F60613FB3C5D0C7B8DDDA00894DD494D81

เรามาดูว่าอีก 15 ปีต่อมา คำพยากรณ์ของ IPCC ถูกต้องแค่ไหน

ภาพด้านล่างนี้ คือกราฟแสดงการเพิ่มอุณหภูมิโลกในช่วง 100 ปีข้างหน้า (จาก 1990-2090) โดยมีโมเดลการคำนวนค่าที่แตกต่างกันถึง 9 แบบแยกตามสีต่างๆ เกือบทุกแบบแสดงความสอดคล้องกันของการเพิ่มอุณหภูมิโลกในช่วง 100 ปีมากบ้างน้อยบ้างตามวิธีทางคณิตศาสตร์

ส่วนด้านล่างนี้ คือระดับอุณหภูมิโลกที่เกิดจริง วัดถึงเดือน พ.ค. 2011 (เก็บข้อมูล 32 ปี โดยเริ่มจาก 1979 ก่อนกราฟด้านบน 11 ปี)

เมื่อนำกราฟทั้งสองมาทับกัน จะพบความแตกต่างดังรูปด้านล่างนี้

จากที่เห็น พบว่ามีเพียงโมเดลการคำนวนแบบ MRI2 (สีบานเย็น) ที่มีค่าใกล้เคียงความจริง ที่เหลืออีก 8 โมเดล ล้วนคำนวนว่าโลกจะร้อนกว่าที่เป็น