รายงานภัยพิบัติประจำพฤหัส 2 พฤศจิกายน 2560

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:00 กลุ่มฝนหลังการสลายตัวของ 95W ยังเคลื่อนเข้าภาคใต้ฝั่งตะวันออกอย่างต่อเนื่องstp240Loop-20171102-2000
  • 19:00 ภาคใต้ปลอดภัย พายุดีเปรสชัน 95W สลายตัวแล้ว (ระวังฝนต่ออีกนิด) ต่อไปจับตาดูไต้ฝุ่น ด๊อมเร็ย Damrey เข้าเวียดนาม Wind-20171102-1900
  • 14:00 เขื่อนอุบลรัตน์วานนี้ลดการระบายเหลือ 30 ล้าน ลบม. น้ำไหลเข้า 24 ล้าน ลบม เหลือน้ำ 118%UbonratDam-20171102-1400
  • 11:48 กลุ่มฝนจากอ่าวไทยเคลื่อนเข้ามาใน จ.ชุมพร จ.สุราษฏร์ ดูภาพเรดาร์
  • 08:17 แบบประเมินพายุจาก HKWW ดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W จะสลายช่วงหัวค่ำวันนี้  แต่ยังคงมีกลุ่มฝนหลังการสลายตัวพัดตามลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเข้ามาตกในภาคใต้อีกระยะcurrent2008
  • 07:18 มีฝนละอองในบางเขตของ กทม.
  • 07:06 มีกลุ่มฝนหนักเคลื่อนจากอ่าวไทยเข้า จ.สุราษฎร์ธานี และกลุ่มฝนปานกลางเคลื่อนเข้านครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ดูภาพเรดาร์
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
  • 01:00 ศูนย์กลางพายุดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W  อยู่ที่พิกัด 8.4°N 105.9°E  ความกดอากาศ 1007 hPa ความเร็วลม 20 น็อต เคลื่อนที่ไปทางตะวันตกช้าๆ
  • 01:00 WMO ยอมรับการก่อตัวของ TD28W หรือรามิล โดยทาง TSR ประเมินเส้นทางไว้ว่าพายุดีเปรสชัน TD28W ว่าจะทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อนใช้ชื่อ “ด็อมเร็ย”  Damrey ตั้งโดยประเทศกัมพูชา หมายถึงช้าง จากนั้นจะทวีกำลังต่อเนื่องจนเป็นไต้ฝุ่น ขึ้นฝั่งทางตอนไต้ของประเทศเวียดนาม และอ่อนกำลังจนสลายตัวในกัมพูชา ซึ่งจะก่อให้เกิดฝนตกในไทยท้้งภาคอีกสานและภาคตะวันออกรวมทั้งจังหวัดอื่นตอนบนของประเทศ หย่อมความกดอากาศต่ำหลังการสลายตัวหรือ RMNTs จะเคลื่อนลงอ่าวไทยตรงไปก่อฝนหนักทางประจวบฯ ชุมพร28W-20171102-0100
  • 00:30 ตามโมเดล ECMWF วานนี้ พายุโซนร้อนด็อมเร็ย (รามิล) มีแนวโน้มจะเกิดปรากฏการณ์ ฟูจิวารา Fujiwhara effect กับดีเปรสชันที่กำลังจะเคลื่อนเข้าอ่าวไทย (95W) จนดีเปรสชันสลายตัวไปขณะที่ด็อมเร็ยทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่น
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี สถานี SRDT เขื่อนศรีนครินทร์ ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวจาก Geogon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 18 สิงหาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

[stextbox id=”info”] ปรากฏการณ์ ฟูจิวาร่า(Fujiwara Effect) เป็นปรากฏการณ์ที่ พายุหมุนเขตร้อน 2 ลูก ดึงดูดซึ่งกันเเละกัน โดยพายุที่มีขนาดเล็กกว่าจะถูกดูดให้โคจรไปรอบๆพายุซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า และอาจถูกกลืนหายไปพัฒนาเป็นระบบพายุหมุนที่ใหญ่ขึ้น เช่น TS Parma+TY Melor ในปี 2006 หรือ TD27W + TY Nida ในปี 2009 [/stextbox]

  • 17:03 เขือนเจ้าพระยาเริ่มสามารถระบายน้าได้มากขึ้นหลังมีฝนตกหลายจังหวัดเหนือเขื่อน 
  • 17:00 TD13W ทำท่าจะอ่อนกำลังลง ไม่กลายเป็นฟูจิวารา เอฟฟค คู่กับจ่ามี 
  • 16:08 ระดับน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาที่ จุดวัดบางบาล จ.อยุธยา อยู่ที่ 1.35 เมตร
  • 14:30 ภูเขาไฟซากุระชิมา ในญี่ปุ่น ปะทุเถ้าถ่านหนัก 150,000 ตันขึ้นบนฟ้าสูงถึง 5 กม. ประชาชนชาวเมืองคาโกชิมาที่มีพลเมืองอยู่ราว 600,000 คน ต้องสวมหน้ากาก-เสื้อกันฝน และใช้ร่มเพื่อป้องกันเถ้าถ่านจากการปะทุครั้งนี้  [wpvp_embed type=youtube video_code=uRaZvyjbYjw width=560 height=315] [wpvp_embed type=youtube video_code=gF21ccrX-Nk width=560 height=315]
  • 15:00 พายุดีเปรสชัน 12W ทางตะวันออกของไต้หวัน ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า Trami จ่ามี 
  • 14:03 ระดับน้ำในแม่น้ำน่านที่จุดวัด N67 จ.พิษณุโลก มีระดับเพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฏาคมชัดเจน 
  • 14:00 ยอดตายจากน้ำท่วมใหญ่ในจีนถึงขณะนี้ 37 ราย อพยพ 80,800 ราย 
  • 11:00 เส้นทางของพายุดีเปรสชัน TD 12W ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางลาสุด 30 น็อต (อีกไม่นานจะได้ชื่อเรียกว่าจ่ามี Trami เป็นชื่อดอกไม้ภาษาเวียดนาม) 
  • 10:38 ความเร็วของลมสุริยะเริ่มลดต่ำลงเรื่อยๆ ล่าสุดเหลือ 595 กม/วินาที พายุสนามแม่เหล็กโลกเริ่มสงบกลับเข้าสภาพปกติ
  • 06:50  TSR คำนวนเส้นทางพายุดีเปรสชันคู่แฝด  12W และ 13W ใหม่  ทั้งคู่อาจแยกห่างกันเเกิน 1,400 กม. จนไม่เกิดปรากฏการณ์ฟูจิวาราขึ้นก็ได้ TSR-20130818-0650
  • 05:00 ภาพจากดาวเทียม MTSAT โดยการจับตาของ JTWC พายุดีเปรสชันคู่แฝดเริ่มแยกห่างออกจากกันเล็กน้อย 
  • 01:24  เกิดการปะทุขนาด M3.3 บริเวณจุดดับหมายเลข 1818 บนดวงอาทิตย์ ยังไม่มีรายงานว่าเกิด CME หรือไม่ 
  • 01:00 ระดับความเร็วลมพายุสุริยะเริ่มลดตำลงจากเกิน 700 เหลือใกล้ 620 กม/วินาที
  • รัสเซีย – เหตุน้ำท่วมใหญ่ จากฝนที่ตกลงมาอย่างหนักนานกว่า 1 เดือน ประชาชนจากเขตอามูร์ ,คาบารอฟส์ก และเขตปกครองตนเองของชาวยิว จำนวนรวมกันกว่า 170,000 คน ต้องถูกสั่งให้อพยพออกนอกพื้นที่ โดยข่าวจากรอยเตอร์ ได้กล่าวถึงน้ำท่วมครั้งนี้ว่าเป็นน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ 120 ปี ล่าสุดทางการได่ส่งทหารเข้าช่วยเหลือประชาชนแล้ว [wpvp_embed type=youtube video_code=aebiDX-DRoA width=560 height=315]
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 17:48 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 ประเทศพม่า (20.59,99.90)
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกา)

  • เมื่อ 23.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.60 กม.
  • เมื่อ 23.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ทางตะวันตกของ มณฑลเสฉวน 四川 ประเทศจีน ที่ความลึก 39.60 กม.
  • เมื่อ 23.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.30 กม.
  • เมื่อ 22.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 536.10 กม.
  • เมื่อ 22.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 127.60 กม.
  • เมื่อ 21.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศไต้หวัน ที่ความลึก 26.60 กม.
  • เมื่อ 21.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะสุลาเวสี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 21.90 กม.
  • เมื่อ 21.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 573.70 กม.
  • เมื่อ 20.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ คาบสมุทรอลาสกา ที่ความลึก 120.30 กม.
  • เมื่อ 20.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 570.90 กม.
  • เมื่อ 19.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ หมู่เกาะซานตาครูส ที่ความลึก 28.20 กม.
  • เมื่อ 19.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ตอนกลางของ สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติค ที่ความลึก 10.70 กม.
  • เมื่อ 16.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 129.10 กม.
  • เมื่อ 15.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 30.50 กม
  • เมื่อ 12.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 11.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 204.30 กม.
  • เมื่อ 11.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งของ Nicaragua ที่ความลึก 56.70 กม.
  • เมื่อ 11.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 12.00 กม.
  • เมื่อ 08.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 210.70 กม.
  • เมื่อ 08.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 184.10 กม.
  • เมื่อ 07.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.70 กม.
  • เมื่อ 06.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งของ Nicaragua ที่ความลึก 173.10 กม.
  • เมื่อ 06.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ หมู่เกาะไอซุ ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 34.80 กม.
  • เมื่อ 04.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ เกาะฮัลมาเฮรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 225.20 กม.
  • เมื่อ 03.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 15.30 กม.
  • เมื่อ 03.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Jujuy ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 241.60 กม.
  • เมื่อ 02.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 16.00 กม.
  • เมื่อ 01.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 50.70 กม.
  • เมื่อ 01.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 77.30 กม.
  • เมื่อ 01.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 22.60 กม.
  • เมื่อ 01.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ ทางตะวันตกของ ประเทศตุรกี ที่ความลึก 5.70 กม.
  • เมื่อ 01.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Antagasta ประเทศชิลี ที่ความลึก 136.10 กม.