รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 พฦษภาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:05 เกิดการปะทุขนาด X2.8 บนดวงอาทิตย์ ถือเป็นการปะทุแรงสุดนับจากต้นปี 2556 
  • 16:30 TSR ปรับเส้นทางพายุมาฮาเซนอีกครั้ง พายุจะขึ้นฝั่งบังคลาเทศในความแรงระดับไซโคลน CAT-1 ใน 72 ชมข้างหน้า จากนั้นจะลดกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนผ่านอินเดีย แล้วจะไปสลายตัวเป็นดีเปรสชันทางตอนเหนือของพม่า 
  • 14.50 น. กทม.ฝนหยุดตก ปริมาณฝนสูงสุดที่เขตธนบุรี 8.5 มม.
  • 14:30 ศรีลังกาและทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียโดนฝนจากพายุมาฮาเซนถล่มอย่างหนัก
  • 12:00 พายุจามาลา (24S) ในมหาสมุทรอินเดียใต้ สลายตัวแล้ว
  • 11:32 ภาพล่าสุดขณะนี้จากดาวเทียม MTSAT พายุโซนร้อนมาฮาเซนในอ่าวเบงกอล ด้านซ้ายในภาพคือศรีลังกาและอินเดีย ซึ่งเริ่มมีฝนตกหนักแล้ว ด้านขวาคือหมู่เกาะอันดามัน 
  • 11:00 ภาพจากสถานี AWS14 ของ ทร. ที่ชายหาดเกาะตะเภาน้อย จ.ภูเก็ต อุณหภูมิ 30.46°C ความเร็วลม 4.6กม/ชม ไม่มีฝน
  • 10:30 พายุโซนร้อนมาฮาเซน ในมหาสมุทรอินเดีย ตอนล่างของอ่าวเบงกอล ทวีความเร็วลม กศก เป็น 50 น็อตอีกครั้ง แนวโน้มเพิ่มขึ้นMahasen-130513-1100
  • 09:17 เกิดการปะทุรุนแรงขนาด X1.7 ที่ขอบด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ เป็นการปะทุระดับ X ครั้งแรกในปี 2556 นี้ อาจส่งผลรบกวนการติดต่อสึ่อสารในระดับ R3 ซึ่งจะมีผลต่อระบบเรดาร์และวิทยุยามฝั่งในหลายระดับคลื่น 
  • 09:10 ภาพจากสถานี AWS8 ของ ทร. ที่แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี อุณหภูมิ 30.24°C ความเร็วลม 4.4 กม/ชม  ไม่มีฝน
  • 08:00 ภัยแล้ง – สถานี N5A ตีนสะพานแม่น้ำน่านที่ อ.เมือง พิษณุโลก ขาตอม่อ โผล่ยาว 
  • 06:30 พายุโซนร้อนมาฮาเซนในมหาสมุทรอินเดียยังคงความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางที่ 45 น็อต Mahasen-130513-0600I
  • 04:44 เกิดการปะทุขนาด M1.2 .ใกล้จุดเดิมที่ปะทุไปเมื่อครู่ที่ผ่านมา
  • 03:32 เกิดการปะทุขนาด M1.9 บริเวณจุดดับเกิดใหม่ใกล้ 1745 ตรงขอบตะวันออกบนดวงอาทิตย์ ทิศทางที่อนุภาคเดินทางไปไม่ตรงมาทางโลกเรา
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 23:03 แผ่นดินไหวขนาด 3.6 ประเทศพม่า (18.81,96.27)  ไม่ทราบความลึก ห่างไปทางทิศตะวันตกฉียงใต้ของ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 176 กม.
  • 20:59 แผ่นดินไหวขนาด 1.8 ประเทศพม่า (19.33,97.58)  ไม่ทราบความลึก ห่างไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 41 กม.
  • 11:57 แผ่นดินไหวขนาด 3.2 ประเทศพม่า (20.62,99.70) ไม่ทราบความลึก ห่างไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 28 กม.
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 22.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 54.10 กม.
  • เมื่อ 21.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 158.60 กม.
  • เมื่อ 21.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทางเหนือของ สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติค ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 20.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 29.00 กม.
  • เมื่อ 20.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งของ ทางเหนือของ ประเทศเปรู ที่ความลึก 55.60 กม.
  • เมื่อ 20.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Seram ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 36.70 กม.
  • เมื่อ 17.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 104.00 กม.
  • เมื่อ 11.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 548.80 กม.
  • เมื่อ 07.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Costa Rica ที่ความลึก 40.50 กม.
  • เมื่อ 07.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ทะเลโมลุกกะ ที่ความลึก 85.70 กม.
  • เมื่อ 06.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Costa Rica ที่ความลึก 39.40 กม.
  • เมื่อ 06.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ หมู่เกาะมาเรียนา ที่ความลึก 175.60 กม.
  • เมื่อ 05.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 53.40 กม.
  • เมื่อ 05.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 13.90 กม.
  • เมื่อ 03.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 45.00 กม.
  • เมื่อ 02.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 6.10 กม.
  • เมื่อ 02.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Kepulauan Barat Daya ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 171.00 กม.
  • เมื่อ 00.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 317.70 กม.
  • เมื่อ 00.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Galapagos Triple Junction ที่ความลึก 10.00 กม.

2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 พฦษภาคม 2556

  1. การระบุตำแหน่งพายุของ TSR มีความคลาดเคลื่อนหรือเปล่าครับ ภาพถ่ายดาวเทียมจากเว็บของอเมริกาบอกว่า ตอนนี้พายุอยู่ที่ศรีลังกาแล้ว และกำลังจะเข้าอินเดีย
    ตามลิงค์
    http://images.intellicast.com/Global/Satellite/Current.aspx?region=asian

    • พายุกำลังตีโค้งค่ะ เลยดูเหมือนเข้าใกล้อินเดีย
      ที่สุดแล้ว ปลายทางคือบังคลาเทศหรือพม่า

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *