รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 15 มกราคม 2557

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:45 ภูเขาไฟซินาบุงในสุมาตรา ปะทุอีกครั้งเวลานี้BeAj_kSCAAAIfJS
  • 09:00 พายุโซนร้อน Ian แถบหมู่เกาะตองกา สลายตัวแล้ว
  • 08:00  ลมสุริยะลดความเร็วลงจากเกิน 800 กม/วิ เหลือ 577/วิ ในเวลานี้ สภาพสนามแม่เหล็กโลกกลับสู่ภาวะปกติปกติ  
  • 05:00 กทม 19°C หาดใหญ่ 23°C ภูเก็ต 25°C สุพรรณ 19°C ระยอง 21°C เชียงใหม่ 16°C น่าน 14°C อุบล 14°C อุดร 13°C เลย 12°C
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 6 มกราคม 2557

[stextbox id=”info”]ความเร็วลมเพิ่มขึ้นทุก 1 km/hr มนุษย์จะรู้สึกถึงอุณหภูมิที่ลดลงจากที่วัดตอนลมนิ่ง 0.4°C นี่คืออุณภูมิ feel like หรือ wind chill ในข่าวพยากรณ์ฝรั่ง ซึ่งต้องระวังในการอ่านข่าวเพราะมันเป็นค่า 2 ค่าไม่เท่ากัน โดยเฉพาะภัยหนาวในสหรัฐฯขณะนี้[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:55 อุณหภูมิเวลา 04:20 ในสหรัฐฯขณะนี้หนาวจัด โดยเฉพาะในรัญมิเนโซตา อุณหภูมิลดต่ำลงถึง -34°C (วัดที่ลมนิ่ง)us_temps_cent_640x480
  • 13:30 พบหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีโอกาสก่อตัวเป็นพายุหย่อมแรกของปี 2014 ที่เกาะกวม ได้ใช้หมายเลขแรกของปี คือ 90W 20140106_0632Z-vis
  • 10:40 ภูเขาไฟซินนาบุงในเกาะสุมาตรา ยังมีควันพวยพุ่งออกมาตลอดเวลา 
  • 09:00 ทั่วโลกในเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 3 ลูก และเป็นพายุโซนร้อนทั้ง 3 ลูก คือ Bejisa ใกล้มาดาร์กัสกา 01B ที่ศรีลังกา และ 07P ในแปซิฟิคใต้ ทางตะวันออกของออสเตรเลีย 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 5 มกราคม 2557

เหตุการณ์วันนี้

  • 14:00 ภาพถ่ายพายุฤดูหนาวเฮอคิวลิสจากอวกาศ พายุปกคลุมจากแคนนาดามาถึงตอนเหนือของสหรัฐฯ อุณหภูมิเย็นจัดยังเกิดขึ้นทั่วไป ทางการสหรัฐฯคาดการว่าอาจมีอุณหภูมิลดต่ำถึง -38°C ได้ในรัฐฯตอนบน ล่าสุด ยอดตายอยู่ที่ 16 รายBdM5ghZCQAADJqY
  • 06:00 พบการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำขนาดปานกลางในแปซิฟิคใต้ 
  • ภูเขาไฟชินนาบุงในเกาะสุมาตรา ปะทุรอบใหม่วานนี้ ปล่อยเถ้าขึ้นฟ้าสูงกว่า 4 กม. และมีลาวาไหลออกมาเป็นทางยาวกว่า 3 กม โดยมีการปะทุย่อยราว 50 ครั้งในวันเสาร์ที่ผ่านมา ล่าสุดมีการส่งอพยพ ปชช กว่า 2 หมื่นคนออกห่างภูเขาไฟแล้ว 420
  • สภาพหนาววิกฤตยังเกิดอยู่อย่างต่อเนื่องในแถบตะวันตกเฉียงเหนือตลอดจนด้านเหนือของอเมริกา และมีการพยากรณ์อากาศว่าชิคาโกจะได้พบสภาพอากาศที่หนาวเย็นที่สุดเท่าที่เคยเป็นมา อุณหภูมิอาจลดต่ำลงใกล้ -23°C ยอดตายล่าสุดทั่วประเทศ 11 ราย และการประกาศภาวะฉุกเฉินทางภัยพิบัติในรัฐนิวยอร์คและนิวเจอซียังมีผลให้ ปชช ทุกคนอยู่แต่ในเคหสถานBdJoz1QCEAEoEJy
  • 02:03 เกิดการปะทุขนาด M4 บริเวณจุดดับ  1943 และ 1944 บนดวงอาทิตย์ jan4_2014_m4
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556

[stextbox id=”info”]ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนไปมาก ปีนี้ ประเทศไทยกลายเป็น “ทางผ่านพายุ” ถึง 4 ลูก ไม่เคยเป็นแบบนี้มาก่อน คือไซโคลนไพลิน (มาจาก LPA90W ในอ่าวไทย)  BOB05 (มาจากวิลมา หรือ TD30W ที่ถล่มภาคใต้ 8 พ.ย.) เลฮาร์ (มาจาก LPA92W ที่ถล่มภาคใต้ 21 พ.ย) และ เฮเลน (จากพอดึล )[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 พายุดีปรสชัน Alessia ที่ประเทศออสเตรเลีย สลายตัวแล้ว
  • 17:30 พายุโซนร้อนเลฮาร์ ทางตะวันตกของหมู่เกาะอันดามัน แปรสภาพเป็นพายุไซโคลนแล้วในเวลานี้ ทิศทางมุ่งไปอินเดีย 
  • 17:00 ซินาบุง ปะทุถึง 8 ครั้งใน 3 ชั่วโมงที่ผ่านมา ขณะนี้ ปชช กว่า 12,300 ราย ถูกสั่งให้อพยพออกมาแล้ว ดูกล้องสดที่นี่BZ6KHm9IYAARXne
  • 16:00 ตำแหน่งของภูเขาไฟซินาบุงในเกาะสุมาตรา ซึ่งหากการปะทุทำให้ลดแรงดันลงไปได้ก็เป็นเรื่องดี หากระเบิดขึ้นมาก็ขอให้ระดับความแรงต่ำกว่า VEI 6 เพราะหากถึง 6 จะมีสึนามิเกิดขึ้นมาได้ (จากการประเมิณน่าจะอยู่ที่ระดับ VEI 4 ไม่เกิน VEI 5)sinabung volcano - Google Maps
  • 15:00 ทางการอินโดฯยกระดับการเตือนภัยภูเขาไฟซินาบุงในสุมาตราขึ้นระดับสูงสุดแล้วขณะนี้ (อ่านเนื้อข่าว BBC) ภาพจาก AP
  • 13.27 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 ตามมาตราโมเมนต์ บริเวณ หมู่เกาะฟลอ์คแลนด์ ที่ความลึก 2 กม.
  • 13:30 ฝนตกเขตพระนคร ป้อมปราบฯ  นนทบุรี บางกรวย
  • 12.56 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 40 กม.
  • 12:00 ตาย 13 รายในสหรัฐฯ จากพายุฤดูหนาวในรัฐโอคลาโฮมา เท็กซัส แคลิฟอเนีย อริโซนาและนิวเม็กซิโก ในภาพเป็นต้นไม้ล้มในแคลิฟอเนียจากลมกระโชก เครดิตภาพ AP winter_storm_damage_photo
  • 08:30 เกิดน้ำท่วมใหญ่ในเมืองบังกาลอร์ (ประเทศอินเดีย) จากปริมาณน้ำฝน  108 มม ยังไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต
  • 07:30 ภาพชัดๆ – การปะทุครั้งล่าสุดของภูเขาไฟเอทนา ในอิตาลี ทางการยังไม่มีคำสังอพยพ 
  • 05:09 พายุโซนร้อนเลฮาร์ เคลื่อนห่างออกไปถึงเกาะนิโคบาร์แล้ว ภาคใต้ฝนซา ฟ้าเปิด
  • ภาพการปะทุของภูเขาไฟซากุระชิมา ในญี่ปุ่น 16:30 ตามเวลาที่นั่นเมื่อวานนี้ ถ่ายจากบนรถไฟโดย @KiriJax BZ4FO7uCMAATtKD
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 24 พฤศจิกายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:02 ภาพดาวเทียมจาก TWC พายุโซนร้อนเลฮาร์ ในทะเลอันดามัน กำลังแปรสภาพเป็นพายุไซโคลน ทิศทางมุ่งไปอินเดีย
  • 19:00 พายุโซนร้อน 05B ในอันดามัน ได้ชื่อเรียกแล้วว่า เลฮาร์ Lehar
  • 11:12 กลุ่มฝนส่วนหนึ่ง แยกตัวออกจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 92W ที่ปกคลุมภาคใต้แล้วเคลื่อนไปเป็นพายุโซนร้อน 05B ในอันดามัน กลุ่มฝนส่วนน้อยนี้ ลอยขึ้นตะวันออกเฉียงเหนือมาก่อฝนตกในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกวันนี้
  • 11.05 น. ศรีราชา (ต.สุรศักดิ์) ฝนตก
  • 11:00 ฝนตกบางแสน
  • 09:00 ยอดตาย 7 ราย หาย 20 จากพายุโซนร้อนเฮเลน ถล่มอัตรประเทศ 2 วันก่อน Odisha1--621x414
  • 08:00 กลุ่มฝนที่แยกตัวจากพายุโซนร้อน 05B เคลื่อนขึ้นเหนือมาทางภาคกลางและภาคตะวันออกในวันนี้
  • 07:57 ภาพดาวเทียมพายุโซนร้อน 05B ในอันดามัน กำลังแปรสาพเป็นพายุไซโคลน ไปอินเดีย 
  • 02:00 พายุโซนร้อน ALESSIA ขึ้นฝั่งประเทศออสเตรเลีย 201302S-20131124
  • ช่างภาพญี่ปุ่นชื่อคากายะใช้กล้อง Canon EOS 1D C ตั้งหน้ากล้อง 3 วิ ความไวแสง ISO2000 ถ่ายดาวหางไอซอนจากภูเขาไฟฟูจี เมื่อเช้าวันที่ 22 พ.ย. ที่ผ่านมาfuji_strip
  • ภูเขาไฟเอทนา ในอิตาลี ปะทุอีกรอบเมื่อไม่กี่ ชม ที่ผ่านมานี้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 19 พฤศจิกายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:16 แผ่นดินไหวขนาด 5.7 บริเวณ ไมโครนิเชีย ลึก 10 กม. ความลึก 63 กม [USGS]
  • 20.32 แผ่นดินไหวขนาด 6.3 บริเวณ เกาะฮาลมาเฮรา ประเทศอินโดนีเซีย ความลึก 63 กม. [USGS
  • 19:00 หย่อมความกดอากาศต่ำในมหาสมุทรอินเดียก่อตัวเป็นพายุดีเปรสชัน 04B แล้วทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนอย่างรวดเร็ว 201304B
  • 17:26 เกิดการปะทุขนาด X1.0 จากบริเวณจุดดับหมายเลข 1893 บนดวงอาทิตย์ 
  • 17:00 ประกาศกรมอุตุ เตือนหย่อมความกดอากาศต่ำผ่านภาคใต้ตอนล่าง กดอ่าน 
  • 16:00 ยอดตายเป็นทางการจากมหาพายุไห่เยียนในฟิลิปปินส์ นับจนถึงขณะนี้ 3,982 ราย
  • 15:00 ยอดตายจากน้ำท่วมเวียดนาม 34 รายหาย 11
  • 14:00  ตาย 14 รายในเกาะ Sardinia  ของอิตาลี จากพายุไซโคลนคลีโอพัตรา ที่ก่อตัวในทะเลเมดิเตอเรเนียน (ภาพจาก AP)_71193645_711936400,,17238499_303,00
  • 11:15 ยอดตายจากน้ำท่วมใหญ่ในเวียดนาม ล่าสุด 41 ราย
  • 11.07 อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ฝนตก
  • 10.53 อ.แม่จัน จ.เชียงราย ฝนตก
  • 08:15 ทุ่นเตือนสึนามิไทย เสาอากาศหลุดออกจาก BPR ใต้ทะเล เสียหายไม่ส่งสัญญาณมาตั้งแต่ 21 ส.ค. (รองบไปซ่อม) ต้องใช้ของอินเดีย (ตัวล่าง) ที่ติดๆดับๆดังภาพ 23401-191113
  • 08:30 ภาพถ่ายเถ้าเขม่าจากภูเขาไฟซินนาบุงในเกาะสุมาตรา-อินโดนีเซียยังมีออกมาเรื่อยๆ เครดิตภาพ @debora_INFO7 
  • 07:13 สอดคล้องกับ JMA โดยภาพดาวเทียมย้อมสีของ TWC ก็พบว่า หย่อมความกดอากาศต่ำ 91W ได้สลายตัวเป็นกลุ่มฝนเข้าไปยังภาคใต้ตอนล่างแล้ว 
  • 07:00 จากแผนที่อากาศของอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นหรือ JMA ดีเปรสชันที่ก่อตัวใหม่แถบเกาะบอร์เนียวเมื่อวานนี้จากหย่อมความกดอากาศต่ำ 91W ได้สลายตัวไปแล้ว 
  • 00:01 แผนที่ฟ้าของดาวหางทั้ง 4 ก่อนรุ่งสางวันนี้ skymap19NOV13
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556

[stextbox id=”info”]แมกนิจูด คือมาตราวัดความสว่างของดาว ยิ่งมีค่าน้อย ยิ่งสว่างมาก (ฟรานซิส ริกเตอร์ ก่อนจะมาเป็นนักแผ่นดินไหว ก็ชอบดูดาว จึงขอยืมคำว่าแมกนิจูดมาใช้กับขนาดแผ่นดินไหวด้วย[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:12 หย่อมความกดอากาศต่ำ ที่หลงเหลือจากการสลายตัวของพายุดีเปรสชัน TD32W หรือ โซไรดา หรือ พอดึล  หรือ ที่กรมอุตุออกเสียงว่า “โพดอล”  เคลื่อนตัวขึ้นไปทางตอนเหนือของเวียดนาม มีเพียงส่วนน้อยที่เคลื่อนมาทางอ่าวไทย ก่อให้เกิดฝนอ่อนไปทั่วภาคตะวันออก ภาคกลางตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน 
  • 16:13 หย่อมความกดอากาศต่ำ ที่หลงเหลือจากการสลายตัวของพายุดีเปรสชัน TD32W หรือ โซไรดา หรือ พอดึล  หรือ ที่กรมอุตุออกเสียงว่า “โพดอล” กลายเป็นกลุ่มฝนกระจายตัวกว้างปกคลุมเวียดนาม กัมพูชาและอ่าวไทย 
  • 16:00 อ.เมืองอุบล ฟ้าครึ้ม ฝนปรอยๆตลอดบ่าย
  • 13:00  ภาพดาวเทียมจาก JTWC  ลดระดับดีเปรสชันพอดึล หรือที่กรมอุตุออกเสียงว่า โพดอล ลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ (RMNTS)
  • 13.19 แผ่นดินไหวขนาด mb 5.5  ประเทศอาเจนตินา ลึก 19.3 กม แรงสั้นไหว 20%g หรือเมอคัลลี VII  รอรายงานความเสียหาย [USGS]
  • 11:00 กาชาดฟิลิปปินส์ตั้งเต็นท์ในเมือง Hilongos และ Mandaue เพื่อรองรับผู้ประสบภัยที่ไร้บ้านจากทาโคลบาน 
  • 10:30 ข่าวดีสำหรับนักดูดาวหาง เกิดการปะทุความสว่างขึ้นกับดาวหางไอซอน ISON คือเมื่อวันจันทร์ ดาวหางไอซอนสว่างแค่แมกนิจูด 8.5 วันพุธ สว่างเพิ่มมาที่ M7.3 อยู่ๆเมื่อวานนี้ ก็ปะทุ สว่างถึง M5.4 คือภายใน 3 วัน สว่างขึ้น 16 เท่า

    ISON-Mike-Hankey-Nov-14-580x458

    Mike Hankey ถ่ายภาพนี้จาก Monkton รัฐแมรีแลนด์เมื่อวานนี้ (14 พ.ย.56)

  • 10:30 อุตุนิยมเวียดนาม ถือว่าดีเปรสชันพอดึล หรือ ที่กรมอุตุออกเสียงว่า “โพดอล” สลายตัวแล้ว NATIONAL CENTRE FOR HYDRO-METEOROLOGICAL FORECASTING
  • 10:12 พายุดีเปรสชันพอดึล บนฝั่งเวียดนาม กำลังจะสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในไม่กี่ ชม นี้ 
  • 07:00 จากรายงานของ JMA พายุพอดึล หรือ ที่กรมอุตุออกเสียงว่า “โพดอล” อ่อนกำลังทันทีที่ขึ้นฝั่ง ล่าสุดเหลือความกดอากาศ 1006hPa ความเร็วลมรอบศูนย์กลางเหลือเพียง 15 น็อต JMA-20131115-0700
  • 06:13 พายุพอดึล หรือ โพดอล ขึ้นฝั่งเวียดนามแล้วเมื่อช่วง 05:30 ที่ผ่านมา พายุมีแนวโน้มอ่อนกำลังลง 
  • 00:15 เส้นทางพายุพอดึล (32W) จากสำนักอุตุ 6 ประเทศ พายุจะขึ้นฝั่งเวียดนามแล้วสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำก่อนเข้ากัมพูชา (กรมอุตุออกเสียงว่าโพดอล)
  • ยอดตายเป็นทางการจากไห่เยี่ยน 2,390 ราย (เฉพาะในฟิลิปปินส์ 2,360 ราย)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

gfz2013wjmm

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 JMA หรืออุตุนิยมญี่ปุ่น ยกระดับดีเปรสชันพอดึล ให้เป็นพายุโซนร้อน โดยมีความเร็วลมศูนย์กลางพายุเวลานี้  35 น็อต (34.8 กม/ชม)
  • 20:00 TSR ยอมรับการก่อตัวของดีเปรสชันโซไรดาแล้ว ให้ชื่อเรียกตามตารางของ JTWC ว่า พอดึล  (버들 ภาษาเกาหลี แปลว่าต้นหลิว) โดยพายุจะขึ้นฝั่งเวียดนามพรุ่งนี้ช่วงเช้า 201332W
  • 16:00 ยอดตายจากเชื้อ A/H1N1 ในฮอนดูรัส เพิ่มมาที่ 4 ราย
  • 15:15 ดีเปรสชันโซไรดา (หย่อมความกดอากาศต่ำ 90W) เคลื่อนเข้าใกล้เวียดนามมากขึ้น ประเมินว่าจะขึ้นฝั่งพรุ่งนี้ช่วงเช้า 
  • 14:00 ยอดตายเป็นทางการจากมหาพายุไห่เยี่ยน เฉพาะในฟิลิปปินส์ 2,410 ราย บาดเจ็บ 3,853 ราย สูญหายหาย 77 ราย
  • 13:00 ภูเขาไฟซินาบุงของอินโดนีเซียปะทุพ่นเถ้าถ่านสูง 7,000 เมตร ทางการอินโดเร่งอพยพประชาชนราว 5,500 คน ดูกล้อง CCTV 5094138-3x4-340x453
  • 12:00 ดาวหาง ISON อยู่ที่ระยะ 0.651AU ผ่านวงโคจรดาวศุกร์แล้วในวันนี้ test9975
  • 11:00 ประกาศเตือนภัย- พายุดีเปรสชันในทะเลจีนใต้ ฉบับที่ 6 กดอ่าน 
  • 10:55 ฝนตกเขตจตุจักร พญาไท ดินแดง ห้วยขวาง วังทองหลาง สวนหลวง วัฒนา คลองเตย ทวีวัฒนา จ.นนทบุรี อ.เมืองสมุทรสาคร
  • 09:00 ทุ่นสึนามิไทย (ตัวบน) เสียมาตั้งแต่ 21 ส.ค. ป่านนี้ยังไม่ได้งบประมาณไปกู้ไปซ่อม ต้องอาศัยทุ่นอินเดีย (ตัวล่าง) ซึ่งบางครั้งก็ติดๆดับๆ23401-20131114
  • 08:40 ขณะที่ทั่วโลกกำลังรอคอยและดูเหมือนจะผิดหวังกับดาวหาง ISON ที่ไม่ค่อยสว่าง อยู่ดีๆดาวหางดวงใหม่ก็โผล่ขึ้นมาให้เห็น หลังผ่านวงโคจรโลก ดาวหาง Lovejoy  (C/2013 R1) ส่องแสงสว่างกว่า ISON ประมาณ 10 เท่า ภาพนี้ Rolando Ligustri ถ่ายเมื่อ 12 พ.ย. ในนิวเม็กซิโก lovejoy_striptest2298
  • 08:30 GFZ โมเดลแสดงให้เห็นการขึ้นฝั่งของดีเปรสชันโซไรดาซึ่งจะสลายตัว เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำผ่านอ่าวไทยตอนบนไปลงอันดามัน  [wpvp_embed type=youtube video_code=RNnQOL7bWbQ width=560 height=315]
  • 08:00 ตำแหน่งที่พายุดีเปรสชันจะขึ้นฝั่งพรุ่งนี้เช้า  คำนวนโดยอุตุนิยมเวียดนาม 
  • 07:13 พายุดีเปสชันโซไรดา (ทาง JTWC ยังคงเรียกว่าเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W)  เคลื่อนมาใกล้ถึงฝั่งเวียดนามแล้วในเวลานี้ แนวพายุหลังขึ้นฝั่งจะทำให้เกิดฝนในอีสานล่าง ตะวันออก ภาคกลางตอนล่างและใต้ตอนบน (ส่วนอุตุไทยไม่ตั้งชื่อ ตามแบบ JMA คือมึนๆเรียกไปว่า ดีเปรสชันในทะเลจีนใต้ )
  • 06:08 เกิดการปะทุขนาด C9.8 ใกล้บริเวณจุดดับหมายเลข 1897 เวลา (ไม่มีผลกับเรา ท่องไว้ แค่เอาภาพมาให้ดูสวยๆ) nov13_2013_m1.4
  • 05.36 Geofon วัดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันตกของเกาะสุมาตราเหนือ  ที่ความลึก 10 กมได้ แต่สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวของกรมอุตุที่อยู่ใกล้ๆ และมีผลโดยตรง กลับวัดไม่ได้
  • 01:00 ภาพพายุดีเปรสชัน BOB05 ในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทาง JTWC ระบุว่าเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง (HIGH) ที่หลงเหลือ (RMNTS) จากพายุดีเปรสชัน 30W หรือวิลมาตามชื่อจากทาง PAGASA ที่ถล่มประจวบฯ และเพชรบุรีไปเมื่อช่วงวันที่ 7-8 พ.ย. ที่ผ่านมา โดยทาง JTWC ยังไม่ประกาศยกระดับเป็นพายุลูกใหม่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 28 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:50 ยอดตายจากพายุ St.Jude ทื่ถล่มอังกฤษล่าสุด 4 รายtrain_2715209b
  • 21:00 เฮอริเคนเรมอนด์ กลับลำเหมือนจะหันไปทางเม็กซิโกอีกครั้ง 201317E
  • 19:00 ภาพดาวเทียม แสดงพายุยูโรเปียน ชื่อคริสเตียน กำลังขึ้นฝั่งที่อังกฤษ 
  • 19:00 JTWC ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W เป็น High เตรียมประกาศเป็นพายุดีเปรสชัน TD 29W  
  • 15:00 สนามแม่เหล็กโลกยังมีสภาพเป็นปกติ หลังเกิดการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์หลายรอบ 
  • 13:00 JTWC เลื่อนขั้นหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W ในทะเลฟิลิปปินส์เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังปานกลาง ยังไม่ประกาศเป็นดีเปรสชันตาม JMA 
  • 11:41 เกิดการลุกจ้าขนาด M5.1 บริเวณจุดดับ 1875 ที่ขอบตะวันตกบนดวงอาทิตย์ อีกครั้ง
  • 09:03 เกิดการลุกจ้าขนาด X1 บริเวณจุดดับ 1875 ที่ขอบตะวันตกบนดวงอาทิตย์ 
  • 07:30 ทั่วโลกมีพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกในเวลานี้ คือ พายุโซนร้อน 01S ทางตะวันออกของมาดากัสกา และพายุเฮอริเคนเรมอนด์ ทางตะวันตกของเม็กซิโก (TSR ยังไม่ยอมรับดีเปรสชันที่ก่อตัวจาก LPA96W ในทะเลฟิลิปปินส์)
  • 06:00 เขื่อนป่าสักฯลดการระบายไม่ถึง 7 ล้าน ลบม ต่อวัน เพื่อเก็บน้ำใช้หน้าแล้ง โดยน้ำยังเกินความจุปกติถึง 122.71% pskdam-20131028-0600
  • 05:05 เมฆฝนก้อนใหญ่จากพม่าที่คาดว่าจะเข้ามาในภาคเหนือของไทยเมื่อคืน หยุดอยู่แค่ชายแดนแม่ฮ่องสอนหลายชั่วโมงแล้ว 
  • ภูเขาไฟปะทุ 2 วันติด ภาพซ้ายคือภูเขาไฟเอทนา ในอิตาลี ภาพขวาคือภูเขาไฟโปโปในเม็กซิโก http://t.co/tLIw0YNRFm (via @webcamsdemexico)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 16 กันยายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:00 สรุปยอดผู้เสียชีวิตล่าสุดจากพายุมานหยี่ 3 ราย สูญหาย 5 ราย บาดเจ็บ 138
  • 19:00 พายุมานหยี่ เคลื่อนลงทะเลที่จังหวัดอิวาเตะ แนวโน้มอ่อนกำลังลง ใกล้สลายตัวMANYI-20130916-1900
  • 16:30 ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ฝนตกหนัก
  • 16:15 สภาพในเมืองเกียวโตที่ถูกน้ำท่วม โรงแรมต้องนำเรือมาให้แขกได้นั่งออกมาหลังน้ำในแม่น้ำคัตซูระเอ่อล้นท่วมเมือง (เครดิตภาพ lematin.ch)
  • 16:00 ยอดผู้เสียชีวิตล่าสุดจากพายุมานหยี่ถล่มญี่ปุ่น 2 ราย สูญหาย 4 บาดเจ็บ  127 (NHK) 
  • 15:00 ระดับน้ำในเขื่อนเจ้าพระยายังปกติ แต่มีข่าวว่าระบายเกินความจุท้ายน้ำจนไปล้นแถบ อ.เสนา อยุธยา
  • 14:00 JMA ระบุการก่อตัวเป็นดีเปรสชันของหย่อมความกดอากาศต่ำ 2 ลูก คือ 99W ในทะเลฟิลิปปินส์ และ 90W ในทะเลจีนใต้
  • 13:00 JTWC ระบุการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำลูกใหม่ LPA90W  ในทะเลจีนใต้ (ในภาพเรียงจากซ้ายมาขวา 90W 99W 98W)
  • 11:15 สภาพจักรยานล้มระเนระนาด ในเมืองทาชิกาวา จากพายุมานหยี่ (เครดิตภาพ
    Toshio Suzuki BUQiFK2CQAEGTyo
  • 13:00 NHK รายงานยอดผู้เสียชีวิต  1 ราย สูญหาย 3 ราย  บาดเจ็บ 71 รายใน 18 จังหวัด ผลจากพายุมานหยี่
  • 10:30 เกิดน้ำท่วมในจังหวัดฟุกุอิ จากพายุมานหยี่ (ภาพโดยสถานีข่าว NHK) BUQkP2rCcAAl89m
  • 10:00 พายุมานหยี่ เคลื่อนใกล้โตเกียว ทิศทางอาจจะผ่านฟุกุชิมา ทางญี่ปุ่นระวังเต็มที่ Manyi-20130916-1000
  • 07:15 KHO จับตามีหย่อมความกดอากาศต่ำ (LPA) หย่อมใหม่เกิดในทะเลจีนใต้ แนวโน้มพัฒนาแรงขึ้น ตัวนี้ทาง JMA ให้เป็นดีเปรสชันแล้ว (TD)
  • 07:00 จากแผนที่อากาศของกรมอุตุญี่ปุ่น (JMA) มีการปรากฏของดีเปรสชันใหม่ ในทะเลฟิลิปปินส์และทะเลจีนใต้แห่งละ 1 ลูก JMA-WXMAP-20130916-0700
  • 07:00 พายุโซนร้อนม่านหยี่ ขึ้นฝั่งญี่ปุ่นที่เมืองชิซุโอะกะในช่วงเช้ามืดที่ผ่านมา ด้วยความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 60 น็อต 
  • 06:00 แผนผังสถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา BURkTfxCYAA6_8P
  • 05:30 JTWC จับตาหย่อมความกดอากาศต่ำเกิดใหม่ 98W และ 99W ขณะที่พายุมานหยี่เคลื่อนขึ้นฝั่งญี่ปุ่นเมื่อช่วงเช้ามืดที่ผ่านมา 
  • กระแสน้ำป่าจากลำน้ำพุง ใน อ.ด่านซ้าย จ.เลย ไหลเข้าสู่แม่น้ำป่าสัก ส่งผลให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ตำบลวัดป่า ตำบลตาลเดี่ยว ตำบลสักหลง ตำบลห้วยไร่ ใน อ.หล่มสัก เขตเทศบาลเมืองหล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ พื้นที่บางแห่งระดับน้ำสูงถึงเกือบ 2 เมตร
  • ภูเขาไฟซินาบัง อินโดนีเซีย ปะทุรอบใหม่ อพยพหลายพันคน
  • ระดับน้ำในเขื่อนสิริกิต์ เริ่มเพิ่มสูงขึ้น น่าจะมีการเก็บกักเพื่อแก้ภัยแล้ง 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก USGS (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณอเมริกาและใกล้เคียง)

  • เมื่อ 23.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ รัฐนิวแม็กซิโก ที่ความลึก 1.30 กม.
  • เมื่อ 23.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 97.70 กม.
  • เมื่อ 22.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 37.00 กม.
  • เมื่อ 22.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ประเทศกรีซ ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 21.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศกรีซ ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 21.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ รัฐเนวาดา ที่ความลึก 5.50 กม.
  • เมื่อ 20.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ หมู่เกาะโบนิน ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 26.60 กม.
  • เมื่อ 18.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 33.70 กม.
  • เมื่อ 18.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 16.00 กม.
  • เมื่อ 14.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะเคอมาเดค ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 152.10 กม.
  • เมื่อ 14.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 19.50 กม.
  • เมื่อ 12.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 105.00 กม.
  • เมื่อ 12.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ La Paz ประเทศโบลีเวีย ที่ความลึก 226.70 กม.
  • เมื่อ 12.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 42.00 กม.
  • เมื่อ 11.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 155.50 กม.
  • เมื่อ 10.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Chagos Archipelago ที่ความลึก 9.70 กม.
  • เมื่อ 07.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 159.60 กม.
  • เมื่อ 07.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 22.20 กม.
  • เมื่อ 07.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 515.20 กม.
  • เมื่อ 06.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ หมู่เกาะโบนิน ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 444.00 กม.
  • เมื่อ 06.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 68.00 กม.
  • เมื่อ 05.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 23.30 กม.
  • มื่อ 04.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ Minahasa เกาะสุลาเวสี, ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 119.90 กม.
  • เมื่อ 02.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 251.20 กม.
  • เมื่อ 01.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 43.00 กม.
  • เมื่อ 01.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม.
  • เมื่อ 00.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 1.20 กม.
  • เมื่อ 00.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Yellowstone National Park Wyoming ที่ความลึก 7.60 กม.