รายงาน​ภัยพิบัติ​ 14 ธันวาคม​ 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 13:12 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.2 ลึก​ 59 กม. พิกัด​ 176.10°E 39.31°S ประเทศ​นิวซีแลนด์
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:30 กรุงเทพฯ​ 22°C เชียงราย 11°C เชียงใหม่​ 14°C ลำปาง​ 14°C เลย 12°C น่าน 14°C ตาก 16°C อุบล​ 18°C อุดร 16°C​ นครพนม​ 17°C หนองคาย​ 16°C ร้อยเอ็ด​ 19°C ภูเก็ต​ 23°C โคราช 20°C แพร่ 15°C สุรินทร์​ 17°C พัทยา 20°C มุกดาหาร​ 20°C กาญจนบุรี​ 20°C นครสวรรค์​ 19°C
  • 06:00  ดัชนี​คุณภาพ​อากาศ​ หรือ​ AQI​ ของ​กรุงเทพฯ​ อยู่ใน​โซน​สีแดง​ ไม่​ควร​ออ​กก​ำ​ลัง​กาย​กลางแจ้ง​ และ​ควร​สวม​หน้า​กา​กอ​นาม​ั​ยชนิด​ N95 เมื่อ​ออกนอก​เคหสถาน​เป็นเวลา​นาน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ​ 12 พฤศจิกายน​ 2562​

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:42 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.9 (Mw) ลึก​ 23 กม. พิกัด​ 97.40°E 0.81°N นอก​ชายฝั่ง​ทาง​ตะวันตก​ของ​เกาะ​สุมาตรา 
  • 16:00 อุตุนิยมฟิลิปปินส์หรือ PAGASA ประกาศเตือนภัยหมายเลข 1 สำหรับพิ้นที่ซามาร์ตะวันออก รับมือพายุดีเปรสชัน “ราโมน” (ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 91W) ที่มีพิกัดเวลานี้อยู่ที่ N12°00′  E131°30′ ความเร็วลม 30 น็อต ความกดอากาศ 1002 hPa เคลื่อนไปทางตะวันตกอย่างช้าๆ
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน 26W ทางตะวันออกเฉียงเหนือของไมโครนีเชีย ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า “เฟิงเฉิน” 風神 Fengshen ตั้งโดยประเทศจีน หมายถึงเทพแห่งลม ความกดอากาศ 1002 hPa ความเร็วลม 35 น็อต ยังไม่มีทิศทางขึ้นฝั่งประเทศใด
  • 07:00 PAGASA ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำที่ก่อตัวในทะเลฟิลิปปินส์​เป็นพายุดีเปรสชัน ให้ชื่อท้องถิ่นว่า “ราโมน” Ramon​ คาดการณ์​เส้นทางอาจมุ่งมาทางเกาะลูซอน
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมาขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:00 ยอดดอย​อิน​ทน​นท์ อุณหภูมิ​ 4°C
  • 04:00 JMA ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชันใหม่ 2 ลูก คือ พายุดีเปรสชัน 26W ทางตะวันออกเฉียงเหนือของไมโครนีเชีย และพายุดีเปรสชันที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 91W ในทะเลฟิลิปปินส์ ทั้ง 2 ลูกเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตก
  • 04:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 100 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=173 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน 
  • 01:00 TSR ประกาศการก่อตัวของ พายุดีเปรสชัน 26W ทางตะวันออกเฉียงเหนือของไมโครนีเชีย  มีแนวโน้มเป็นไต้ฝุ่นลุกต่อไป 
  • 00:00 พายุ “นากรี” “บูลบูล” และ Maha สลายตัวแล้ว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 7 พฤศจิกายน​ 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุโซนร้อนกำลังแรง “นากรี” แทบไม่เคลื่อนที่ มีพิกัดล่าสุดเวลานี้อยู่ที่ N13°25′ E117°00′ ในทะเลจีนใต้ ทวีกำลังแรงขึ้น ความเร็วลม กศก. 60 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa 
  • 12:00 ภาพดาวเทียมของพายุโซนร้อน “บูลบูล” (Bulbul) ในอ่าวเบงกอล (อดีตคือพายุ “มัตโม” ที่ผ่านไทยไป) กำลังเคลื่อนขึ้นเหนือ ไปทางบังคลาเทศ
  • 10:00  โมเดลประเมินเส้นทางพายุจากสำนักอุตุฯ 6 ประเทศ  สำหรับพายุโซนร้อน “นากรี” เห็นต่างกันไปเล็กน้อยว่าพายุจะสลายตัวในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา
  • 07:00 พายุโซนร้อนกำลังแรง “นากรี” มีพิกัดล่าสุดเวลานี้อยู่ที่ N13°25′ E117°05′ ในทะเลจีนใต้ ความเร็วลม กศก. 50 น็อต ความกดอากาศ 990 hPa เคลื่อนตัวไปทางตะวันออกอย่างช้าๆ แนวโน้มจะหันกลับไปทางตะวันตกในวันพรุ่งนี้ จากนั้นจะตรงไปขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 07:00 ซูเปอร์พายุไต้ฝุ่น “หะล็อง” Halong อ่อนกำลังลงเทียบเท่าระดับ 4 ตามมาตราเฮอร์ริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน พิกัดล่าสุดอยูที่ N23°00′ E151°10′ ทางตะวันตกของมหาสมทุรแปวซิฟิกทางตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่เกาะมาเรียนา ความเร็วลม 95 น็อต ความกดอากาศ 940 hPa ไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:00 ยอดดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ เช้านี้ อุณหภูมิ 10°C 
  • 04:58 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 4.8 ลึก 235 กม. พิกัด 66.37°W 22.93°S อาร์เจนตินา
  • 04:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 63 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=154 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง  ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน 
  • 01:00 พายุโซนร้อน Maha ในทะเลอาหรับ อ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชัน ศูนย์กลางพายุอยู่ที่พิกัด 19.3 N 68.2 E ความเร็วลม 30 น็อต แนวโน้มอ่อนตัวลงต่อเนื่องจนสลายตัวโดยไม่ขึ้นฝั่ง
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 5 พฤศจิกายน​ 2562​

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:57 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.5 (mb) ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 78.91°E 40.77°N มณฑล​ซิน​เจียง​ ประเทศ​จีน​
  • 13:00 พายุไซโคลน Maha ในทะเลอาหรับ มีพิกัดล่าสุดอยู่ที่  19.7°N 63.8°E ความเร็วลม 90 น็อต แนวโน้มอ่อนกำ​ลัง​ลงเป็น​ดีเปรสชัน​ก่อนขึ้นฝั่งอินเดีย
  • 07:00 พา​ยุดีเปรสชั่นที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W ในทะเลจีนใต้ มีพิกัดล่าสุดเวลานี้อยู่​ที่​ N13°50′ E114°55′ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 30 น็อต ความกดอากาศ 1004 hPa เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกอย่างช้าๆ
  • 07:00 พายุโซนร้อนกำลังแรง “หะล็อง” Halong ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น ล่าสุดมีศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด N19°05′ E151°55′ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะกวม ความเร็วลม 85 น็อต ความกดอากาศ 950 hPa แนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่น ยังไม่มีแนวโน้มจะขึ้นฝั่งประเทศใด
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมาขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:00 ยอดดอยอินทนนท์ อุณหภูมิ ต่ำสุด 9°C
  • 06:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 57 µg/m³ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=151 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน 
  • 05:43 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.3 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 175.30°W 18.56°S หมู่เกาะ​ตองกา 
  • 04:53 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.1 (Mw) ลึก​ 48 กม. พิกัด​  71.14°W 31.82°S ประเทศ​ชิลี​
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 22 ตุลาคม 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 ระดับ AQI กรุงเทพฯ อยู่ในโซนสีส้ม
  • 22:00 พายุไต้ฝุ่น “บัวลอย” หรือ พายุหมายเลข 21 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น พิกัดเวลานี้อยู่ที่พิกัด N19°40′ E143°20′  ความเร็วลม กศก. 185 กม./ชม ความกดอากาศ 935 hPa แนวโน้มทวีกำลังขึ้นต่อเนื่อง คาดว่าจะเคลื่อนตัวผ่านทางตะวันออกของญี่ปุ่นช่วงวันที่ 25-26 ต.ค. โดยไม่ขึ้นฝั่ง
  • 16:30 กทม.มีฝนเล็กน้อย-ปานกลางเขตหนองแขม บางแค ภาษีเจริญ บางกอกใหญ่ บางกอกน้อย ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา แนวริมแม่น้ำ ต่อเนื่อง อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ อ.พุทธมณฑล เคลื่อนทิศตะวันตกเฉียงใต้
  • 08:30 แผ่นดินไหวขนาด 4.9 ลึก 10 กม.พิกัด 95.71°E 19.20°N ประเทศพม่า (ทาง TMD วัดขนาดได้ 5.2
  • 07:03 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.8 (mb) ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 99.81°E 2.45°S ใกล้เกาะปาไก-สเลตัน นอกชายฝั่ง​ทาง​ตะวันตก​ของ​เกาะ​สุมาตรา
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:49 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.3 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 99.77°E 2.48°S ใกล้เกาะปาไก-สเลตัน นอกชายฝั่ง​ทาง​ตะวันตก​ของ​เกาะ​สุมาตรา
  • 05:00 จุดความร้อนในภาคกลางช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
  • 04:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 73 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=159 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 00:00 พายุหมุนเขตร้อน Octave และ Nestor สลายตัวแล้ว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 28 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 โมเดลเส้นทางพายุจากสำนักอุตุฯ 6 ประเทศ พายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น หรือพายุโซนร้อน “มิทาค” Mitag ในเวลานี้ ส่วนใหญ่เห็นว่าจะเคลื่อนไปขึ้นฝั่งประเทศเกาหลีใต้ช่วงวันที่ 2 ต.ค. 62 หลังทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นแล้ว
  • 08:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 8.76 เมตร ปริมาณ 3,443.80 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 1.76 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1143.8 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 07:00 อุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA ยกระดับพายุดีเปรสัชน TD19W ที่พิกัด N15°25′ E132°05′  เป็นพายุโซนร้อน ใช้ชื่อ “มิทาค” Mitag หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 35 น็อต ค่าความกดอากาศ 1002 hPa มีแนวโน้มพัฒนาเป็นไต้ฝุ่น เส้นทางเคลื่อนไปทางทะเลจีนตะวันออก จากนั้นเคลื่อนไปทางช่องแคบ Tsushima เข้าสู่ทะเลญี่ปุ่นต่อไป
  • 07:00 เชียงราย 20°C พะเยา 20°C เชียงใหม่ 23°C ลำปาง 23°C ลำพูน 23°C แม่ฮ่องสอน 23°C เลย 22°C นครพนม 23°C น่าน 22°C แพร่ 22°C สุรินทร์ 23°C อุบลฯ 24°C ตาก 24°C นครสวรรค์ 25°C ภูเก็ต 25°C หัวหิน 27°C สนามบินสุวรรณภูมิ 27°C
  • 07:00 แผนที่ลมผิวพื้น แสดงให้เห็นลมมรสุมเปลี่ยนทิศทางเป็นตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 05:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เช้านี้ มีค่า 44 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=122 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนสีส้ม ส่งผลไม่ดีต่อผู้ป่วยทางเดินหายใจ เด็ก และคนชรา ส่งผลน้อยค่อบุคคลทั่วไป 
  • 01:00 ทั่วโลกเวลานี้มีพายุหมุนเขตร้อน 3 ลูกได้แก่ พายุดีเปรสชัน “คาเรน” และพายุเฮอเริเคน “ลอเรนโซ” ในมหาสมุทรแอตแลนติก ไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง พายุโซนร้อน 19W “มิทาค” ทางตะวันออกของทะเลฟิลิปปินส์ แนวโน้มเคลื่อนคัวไปทางทะเลญี่ปุ่น
  • แถบแสง “สตีฟ” ในสาธารณรัฐเอสโตเนีย 27 กันยายน 62 โดย Tarmo Tanilsoo “สตีฟ” STEVE (Strong Thermal Emission Velocity Enhancement) ไม่ใช่แสงเหนือ มันคือแก้สร้อน 3000°C จากดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านเกราะแม่เหล็กโลกปรากฏเป็นแสงสว่างแนวแคบยาว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 26 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00 มีผู้เสียชีวิต 20+ ราย (ยอดยังไม่นิ่ง) จากแผ่นดินไหว 6.4 (Mw) บริเวณเกาะอัมบน แถบเกาะเซรัม ของอินโดนีเซียช่วงเช้าที่ผ่านมา via ข่าว อัลจาเซรา
  • 09:00 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 08:00 ความเสียหายจากแผ่นดินไหว 6.4 (Mw) บริเวณเกาะอัมบน แถบเกาะเซรัม ของอินโดนีเซียช่วงเช้าที่ผ่านมา

  • 07:30 ม่อนแจ่ม ต.โป่งแยง อ.แม่ริม เชียงใหม 12°C via 
  • 07:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 45 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=122 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนสีส้ม ส่งผลไม่ดีต่อผู้ป่วยทางเดินหายใจ เด็ก และคนชรา ส่งผลน้อยต่อบุคคลทั่วไป
  • 07:00 เมืองที่มีอุณหภูมิสูงสุดในรอบ 24 ชั่วโมงจากทั่วโลก
    Failakah Island (Kuwait) 47.6°C
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:46 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.4 (Mw) ลึก 10 กม.พิกัด 128.45°E 3.56°S บนเกาะอัมบน-ฮารูกุ แถบเกาะเซรัม ประเทศอินโดนีเซีย
  • 04:00 เวลานี้ทั่วโลกมีพายุหมุนเขตร้อน 4 ลูก ได้แก่พายุดีเปรชัน “กิโก” ทางตะวันออกของแปซิฟิก พายุดีเปรชัน “เจอรี” พายุโซนร้อน “คาเรน” และ พายุเฮอริเคน “ลอเรนโซ” ในแอตแลนติก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 23 กันยายน 2562 (วันศารทวิษุวัต)

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 พายุ “ตาปะฮ์” ในทะเลญี่ปุ่น สลายตัวแล้ว
  • 19:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต และเขื่อนที่มีปริมาณน้ำเก็บเก็กมากระดับวิกฤตเวลานี้ 
  • 15:00 เกิดการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน 13L ทางชายฝั่งแอฟฟริกา แนวโน้มจะกลายเป็นเฮอริเคนลูกใหม่ ขณะที่พายุดีเปรสชัน 12L ในแอตแลนติกใกล้เวเนซูเอลาทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนได้ชื่อเรียกว่า “คาเรน” Karen เคลื่อนตัวเข้าทะเลแคริบเบียน ขณะที่พายุโซนร้อน “เจอรี” Jerry ทางใต้ของเบอร์มิวดาแนวโน้มเคลือ่นตัวขึ้นเหนือ
  • 14:00 ระดับน้ำที่ท่วมโรงเรียนบ้านหนองกินเพล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ลดลงแล้ว จากที่เคยท่วมสูงครึ่งกระดานดำ via 
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน “มาริโอ” และ “ลอเรนา” เคลื่อนตัวขนาบ 2 ด้านของคาบสมุทรรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ของประเทศเม็กซิโก ขณะที่พายุโซนร้อน “กิโก” เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกมีแนวโน้มจะอ่อนกำลังและสลายตัวโดยไม่เข้าใกล้ประเทศใด
  • 08:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 9.7 เมตร ปริมาณ 3,813.50 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 2.7 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1,513.50 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:00 พายุไต้ฝุ่น “ตาปะฮ์” หรือพายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุุ่น อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน ควมเร็วลม กศก. 45 น็อต ค่าความกดอากาศ 994 hPa ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N44°35′ E144°35 ในทะเล​ญี่ปุ่น​ เคลื่อนไปทางฮอกไกโด
  • 05:32 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 4.9 ลึก 10 กม. นอกชายฝั่งทางใต้ของเกาะสุมาตรา
  • 04:00 หย่อมความกดอากาศ 96A ในทะเลอาหรับ ยกระดับเป็นพายุดีเปรสชัน 03A ล่าสุดทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ทิศทางมุ่งไปทางโอมาน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 22 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 JMA ประกาศเตือนพายุตาปะฮ์ระดับสีแดงในภูมิภาคคิวชู ชิโกกุ ชุโงกุ โดยให้ระวังดินถล่มในจังหวัดเอฮิเมะและมิยาซากิ
  • 21:00 พายุไต้ฝุ่น “ตาปะฮ์” หรือพายุหมายเลข 17 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุุ่น ควมเร็วลม กศก. 60 น็อต ค่าความกดอากาศ 985 hPa ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N34°00′ E129°55 ในช่องแคบ Tsushima ทางเหนือของเกาะคิวชู เส้นทางมีแนวโน้ม​เคลื่อน​เข้า​ทะเล​ญี่ปุ่น​ต่อไป​
  • 13:00 สถานการณ์ฝุ่นควันในแหลมมาลายูวันนี้เข้าขั้นเลวร้าย ในแถบ Jambi สุมาตราซึ่งเป็นจุดที่ใกล้การเผาป่า ค่า AQI ขึ้นไปถึง 635 มาเลเซียและสิงคโปร์เป็นโซนแดงและส้มเกือบทั้งประเทศ ของไทยเราในเขตจังหวัดสตูลเที่ยงนี้ค่า AQI สูงถึง 171 ยะลา 151หาดใหญ่ 137 เตือนให้สวมหน้ากาก N95
  • 12:00 การเผาป่าบนเกาะสุมาตรา ทำให้ท้องฟ้าเมืองจัมบิกลายเป็นสีแดงไม่ต่างจากดาวอังคาร
  • 07:00  สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่งปกติ 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 9.83 เมตร ปริมาณ 3,898.50 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 2.83 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 1,598.50 m³/วินาที (ภาพและข้อมูลจากกรมชลประทาน)
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 01:00 หลังพายุฮัมเบอร์โตสลายตัว โลกเวลานี้เหลือพายุหมุนเขตร้อน 5 ลูก ทาง TSR ถือว่าเป็นพายุโซนร้อนทุกลูก โดยทางมหาสมุทรแอตแลนติกมี “เจอรั” ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกมี “กิโก” “มาริโอ” และ “ลอเรนา” ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกมี “ตาปะฮ์” (ลูกนี้ทาง JMA ยังถือเป็นไต้ฝุ่น)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 11 กันยายน 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 สถานีวัดน้ำ M.7 สะพานเสรีประชาธิปไตย อุบลราชธานี ระดับตลิ่ง 7 เมตร รับน้ำได้ปริมาณ 2,300 m³/วินาที เวลานี้ระดับน้ำท่วมอยู่ที่ 10.85 เมตร ปริมาณ 5,085 m³/วินาที เท่ากับล้นตลิ่ง 3.85 เมตร ปริมาณเกินกว่าที่ลำน้ำจะรับได้ 2,785 m³/วินาที
  • 14:00 สภาพอากาศในมาเลเซีย สิงคโปร์ และ 4 จังหวัดชายแดนใต้ของไทย มีค่าฝุ่นควันจากการเผาป่าในอินโดนีเซียในระดับน่าเป็นห่วง
  • 11:00 ทางหลวงหมายเลข 231 สายเลี่ยงเมือง-วารินชำราบ เป็นเส้นทางเดียวที่รถเล็กยังสัญจรได้ หลังกรมชลประทานคาดการณ์แม่น้ำมูลจะขึ้นสูงสุดคืนนี้
  • 10:00 ภาพเปรียบเทียบ 3 วัน ระดับน้ำท่วมชั้น 2 ของบ้าน หน้าหมู่บ้านหาดสวนสุข1 อ.วารินชำราบ จ.อุบลฯ via 
  • 07:30 สภาพฝุ่นควันที่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จากการเผาป่าในอินโดฯ via 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 พายุ “ฟ้าใส” สลายตัวแล้ว ทั่วโลกเวลานี้เหลือพายุโซนร้อน “แกเบรียล” ลูกเดียวทางเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

Asteroid
Date(UT)
Miss Distance
Velocity (km/s)
Diameter (m)
2019 QE1
2019-Sep-05
13.2 LD
6.6
33
2019 RP1
2019-Sep-05
0.1 LD
25.9
10
2019 RM1
2019-Sep-05
8.2 LD
7.6
10
2019 RD1
2019-Sep-06
6.1 LD
7.1
15
2019 GT3
2019-Sep-06
19.5 LD
13.6
212
2019 RA
2019-Sep-07
4.5 LD
5.7
29
2019 RC1
2019-Sep-07
0.5 LD
20.4
6
2019 QZ
2019-Sep-08
15.7 LD
4.3
22
2019 RX1
2019-Sep-09
9.7 LD
13.3
29
2019 QZ3
2019-Sep-09
9.7 LD
7.5
40
2019 RG2
2019-Sep-09
1.4 LD
22
12
2019 QY4
2019-Sep-10
2.5 LD
7.8
10
2019 RH
2019-Sep-10
7 LD
16.8
23
2019 RX2
2019-Sep-12
7.2 LD
5.3
7
2019 RJ1
2019-Sep-12
10.8 LD
10.4
15
2010 RM82
2019-Sep-13
18.2 LD
14.6
23
2013 CV83
2019-Sep-13
16.1 LD
13.1
62
504800
2019-Sep-14
13.9 LD
14.4
155
2019 RT
2019-Sep-14
13.7 LD
16.6
48
2019 RQ2
2019-Sep-14
9.4 LD
17.2
30
467317
2019-Sep-14
13.9 LD
6.4
389
2019 JF1
2019-Sep-16
11.2 LD
4.3
62
2018 FU1
2019-Sep-16
18.4 LD
4.7
16
2019 RC
2019-Sep-16
17.5 LD
15.1
154
2019 RP2
2019-Sep-20
8.5 LD
1.6
6
2017 SL16
2019-Sep-21
7.9 LD
6.5
25
2017 SM21
2019-Sep-21
11.5 LD
9.6
20
2019 RE2
2019-Sep-21
19.7 LD
8.7
38
2019 RB3
2019-Sep-21
19 LD
11.8
51

ข้อมูลจาก spaceweather.com