รายงานภัยพิบัติ 4 มิถุนายน 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต
  • 16:42 ฝนตกหนักถนนแจ้งวัฒนะ ช่วงหน้าศูนย์ราชการฯ มีน้ำท่วมขัง Cr.ไลน์ฝนตก-น้ำท่วม บอกด้วย​
  • 16:30 ฝนตกหนัก​ที่ อ.ด่าน​ซ้าย​ จ.เลย มีน้ำป่า 
  • 15:49 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.5 ลึก​ 112 กม. พิกัด​ 128.28°E 2.94°N ใน ทะเล​ทางเหนือ​ของ​เกาะฮัลมาเฮรา หมู่เกาะโ​มลุก​กะ​ อินโดนีเซีย ไม่เตือน​สึนามิ​
  • 12:00 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศ​ไทยวันนี้ พบผู้ป่วยใหม่ 17 ราย ยอดผู้ป่วยสะสมยืนยันแล้ว 3,101 ราย เสียชีวิต​ราย​ใหม่​ 0 ราย รวมเสียชีวิต​สะสม 58 ราย
  • 08:32 แผ่นดินไหวขนาด 5.2 ลึก 10 กม.พิกัด 117.26°W 35.62°N รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
  • 09:00 จุดดับ 2765 ซึ่งเป็นจุดดับในวัฏจักรสุริยะที่ 25 ปรากฏขึ้นที่ขอบด้านตะวันออกเฉียงใต้ของดวงอาทิตย์
  • 07:00 สรุปยอด COVID-19 ทั่วโลก แสดงเฉพาะประเทศที่มีผู้ป่วยสะสมที่ยืนยันแล้วมากกว่า 36,400 ราย
  • 07:00 อุณหภูมิสูงสุดทั่วโลกในรอบ 24 ชม.ที่ผ่านมา
    1 Ndjamena (Chad) 50°C
    2 K.f.i.a. (King Fahad Int. Airport) Dammam (Saudi Arabia) 49°C
    3 Omidieh (Iran) 48.3°C
    4 Mitribah (Kuwait) 48°C
    5 Al Ahsa (Saudi Arabia) 47.8°C
    6 In Guezzam (Algeria) 47.7°C
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 04:00 พายุโซนร้อน Chritobal เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งประเทศเม็กซิโก ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 45 น็อต คาดว่าจะอ่อนกำลังเป็นดีเปรสชัน จากนั้นจะเคลื่อนลงอ่าวเม็กซิโก ทวีกำลังเป็นพายุโวนร้อนอีกครั้ง ตรงไปขึ้นฝั่งรัฐนิวออร์ลีนส์ของสหรัฐฯ
  • 03:31 แผ่นดินไหวขนาด 4.7 ลึก 50 กม.พิกัด 36.4°N 140.7°E จังหวัดอิบารากิ ประเทศญี่ปุ่น ความรุนแรงระดับ 4 ตามมาตราชินโดะ
  • 02:56 เกิดดินสไลด์ริมชายฝั่งเมือง Alta ทางเหนือของประเทศนอร์เวย์ พาเอาบ้านเรือน 8 หลังไหลลงทะเล
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 11:24 แผ่นดินไหวขนาด 4.2 ลึก 4 กม.พิกัด 100.774°E 20.523°N ประเทศลาว ใกล้ อ.เชียงของ จ.เชียงราย ตามรายละเอียดนี้
  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 29 พฤษภาคม 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:25 เรดาร์สำนักป้องกันน้ำท่วม กทม.แสดงกลุ่มฝนที่ตกในภาคกลางตอนล่าง
  • 18:46 เกิดการปะทุระดับ M หรือ M-Class Solar flares ที่ขอบด้านตะวันออกเฉียงเหนือของดวงอาทิตย์ เมื่อ 14:24 ที่ผ่านมา ถือเป็นการปะทุที่แรงที่สุดนับจากปี 2017 จากนั้น
    ก็มีการปะทุขนาด C9 ตามมาอีกครั้งเมื่อเวลา 17:46
  • 17:05 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.2 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 36.3N 137.6E จังหวักิฟุ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 4 ตา​มมาตรา​ชิน​โ​ด​ะ​ 
  • 17:00 เกิดลมกระโชกแรงที่ อ.ตะพานหิน​ จ.พิจิตร​ บ้านเรือน​ประชาชน​เสียหาย 21 หลัง​คาเรือน
  • 12:00 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศ​ไทยวันนี้ พบผู้ป่วยใหม่ 11 ราย ยอดผู้ป่วยสะสมยืนยันแล้ว 3,076 ราย เสียชีวิต​ราย​ใหม่​ 0 ราย รวมเสียชีวิต​สะสม 57 ราย
  • 07:30 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.4 (mb) ลึก​ 26 กม. พิกัด​ 92.77°E 11.15°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย​
  • 07:00 สรุปยอด COVID-19 ทั่วโลก แสดงเฉพาะประเทศที่มีผู้ป่วยสะสมที่ยืนยันแล้วมากกว่า 24,000 ราย
  • 07:00 อุณหภูมิสูงสุดทั่วโลกในรอบ 24 ชม.ที่ผ่านมา
    1 Ganganagar (India) 48.9°C
    2 Bikaner (India) 48°C
    3 Jacobabad (Pakistan) 48°C
    4 Nawabshah (Pakistan) 48°C
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:45 เรดาร์​ TMD แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก
  • 05:00 เกิดการปะทุระดับ B หรือ B-Class Solar flares ที่ขอบด้านตะวันออกเฉียงเหนือของดวงอาทิตย์ ถือเป็นการปะทุครั้งแรกของวัฏจักรสุริยะ 25 
  • 04:50 ทั่วโลกยังไม่พบการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนทุกชนิด ในทุกมหาสมุทร 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติอังคาร 28 เมษายน 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 23: 00 กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยสะสม COVID-19 ต่อประชากร 1 ล้านราย ที่ยังอยู่ในขั้นตอนรักษาพยาบาล (Active cases per 1 million people)ในกลุ่มประเทศอาเชียน (ขาดพม่า)  จะเห็นหลายประเทศมีกราฟหัวทิ่มลง ยกเว้นสิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย ที่ยังน่าห่วง
  • 22:00 จุดความร้อน (ไฟป่า-การเผาในที่โล่งแจ้ง) ในพม่าอยู่ที่ 7 จุด ลาว 82 จุด กัมพูชา 71 จุด ไทย 27 จุด เวียดนาม 66 จุด
  • 20:00 รายชื่อเขื่อนที่มี % ของปริมาณน้ำใช้การได้คงเหลือน้อยในระดับวิกฤต เวลานี้ ล่าสุดมีเขื่อนห้วยหลวงเข้ามาในรายชื่อแล้ว และ เขื่อนอุบลรัตน์ที่ปริมาณน้ำใช้การได้ลดลงจนถึง -10% อาจเป็นอันตรายต่อโครงสร้างเขื่อน 
  • 11:50 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศ​ไทยวันนี้ พบผู้ป่วยใหม่ 7 ราย ยอดผู้ป่วยสะสมยืนยันแล้ว 2,938 ราย เสียชีวิต​ราย​ใหม่​ 2 ราย รวมเสียชีวิต​สะสม 54 ราย
  • 07:00 อุณหภูมิสูงสุดทั่วโลกในรอบ 24 ชม.ที่ผ่านมา
    1 Nawabshah (Pakistan) 46.4°C
    2 Bilma (Niger) 45.6°C
    3 Matam (Senegal) 45.4°C
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 07:00 สรุปยอด COVID-19 ทั่วโลก แสดงเฉพาะประเทศที่มีผู้ป่วยสะสมที่ยืนยันแล้วมากกว่า 5,800 ราย
  • ปรากฏจุดดับจาก 2 วัฏจักรสุริยะดวงอาทิตย์ คือจุดดับหมายเลข 2760 จากวัฏจักรสุริยะที่ 24 และจุดดับหมายเลข 2761 จากวัฏจักรสุริยะที่ 25 (สังเกตจากขั้วแม่เหล็กของจุดดับ) แสดงถึงช่วงของการเปลี่ยนผ่าน (ไม่มีผลดีหรือร้ายอะไรกับโลก)
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ​ 10 มีนาคม​ 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:06 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.5 (Mw) ลึก​ 39 กม. พิกัด 103.07°E 5.80°S นอก​ชายฝั่ง​ทางใต้​ของ​เกาะ​สุมาตรา​
  • 20:44 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.2 (mb) ลึก​ 148 กม. พิกัด​ 67.96°W 22.22°S พรมแดน​ประเทศ​ชิลี​-โบลิเวีย​
  • 11:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 65 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=155 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:30 กรุงเทพฯ​ 27°C เชียงราย​ 17°C เชียงใหม่​ 21°C ล​ำ​ปาง​ 21°C แม่ฮ่องสอน​ 18°C เลย 20°C อุดร​ฯ 22°C อุบล​ฯ 25°C ขอนแก่น​ 23°C โคราช​ 24°C กาญจนบุรี​ 24°C ระยอง​ 27°C ภูเก็ต​ 27°C
  • 02:00 สรุปยอดผู้เสียชีวิตทั่วโลกจาก COVID-19 ล่าสุด ประเทศจีน: 3119 อิตาลี: 463 อิหร่าน: 237 เกาหลีใต้: 53 ฝรั่งเศส: 30 สเปน: 30 สหรัฐฯ: 22 ญี่ปุ่น: 17 อิรัก: 6 อังกฤษ: 5 ออสเตรเลีย: 3 เนเธอร์แลนด์: 3 ฮ่องกง: 3 สวิตฯ​: 2 เยอรมนี: 2 ซานมารีโน: 2 แคนาดา: 1 ไทย: 1 อียิปต์: 1 ไต้หวัน: 1 อาร์เจน: 1
  • 01:12 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.2 (Mw) ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 85.30°E 32.77°N เขต​ปกครอง​ตนเอง​ทิเบต​
  • หลังอยู่ในสภาวะสงบมายาวนาน ก็ปรากฏจุด Sunspot หมายเลข 2758 ขึ้นบนดวงอาทิตย์ โดยมีลักษณะขั้วแม่เหล็กเป็นแบบวัฏจักรสุริยะที่ 25 ซึ่งนับตั้งแต่ต้นปี ดวงอาทิตย์เพิ่งจะมีจุด Sunspot ไปเพียง 4 จุดซึ่งถือว่าน้อยมาก และดวงอาทิตย์อาจยังอยู่ในสภาวะเงียบแบบนี้ต่อไปอีกระยะ
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหวัดระนอง (RNTT) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ​ 15 กุมภาพันธ์ 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:05 แผ่นดินไหว​ (ดับเบิล​ช็อก) ขนาด​ 5.1 (ML) ลึก​ 8.4 กม. พิกัด​ 23.85°N 121.53°E เทศ​มณฑล​ไถ​ตง​ เกาะไต้หวัน​ ความรุนแรง​ระดับ​ 4 ตา​มมาตรา​เมอร์​คัล​ลี
  • 18:00 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.5 (ML) ลึก​ 10.5 กม. พิกัด​ 23.84°N 121.52°E เทศ​มณฑล​ไถ​ตง​ เกาะไต้หวัน​ ความรุนแรง​ระดับ​ 4 ตา​มมาตรา​เมอร์​คัล​ลี
  • 11:00 สถานการณ์​การระบาดของโรค COVID-19 ในไทย
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:30 กรุงเทพฯ​ 24°C เชียงราย​ 13°C เชียงใหม่​ 16°C เลย 17°C ล​ำ​ปาง​ 14°C ลำพูน​ 15°C แม่ฮ่องสอน​ 14°C น่าน 16°C สุโขทัย​ 19°C พิษณุโลก​ 18°C นครสวรรค์​ 19°C กาญจนบุรี​ 18°C นครพนม 24°C โคราช​ 23°C อุดร​ฯ 24°C อุบล​ฯ 26°C ระยอง​ 26°C ชุมพร​ 23°C ภูเก็ต​ 27°C
  • 01:00 พายุไซโคลน Uesi ในแปซิฟิกใต้สลายตัวแล้ว โลกเวลานี้เหลือพายุโซนร้อนฟรานซิสโกที่กำลังเข้าประชิดฝั่งตะวันออกของเกาะมาดากัสการ์
  • 00:00 ดวงอาทิตย์ยังคงมีปฏิกิริยาต่ำอย่างต่อเนื่อง ยังคงไม่มีจุดดำให้เห็นติดต่อกันเป็นเวลานาน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหวัดระนอง (RNTT) ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 3 มกราคม 2563

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:28 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.5(Mw) ลึก​ 114 กม. พิกัด​ 86.26°W 11.79°N นิคารากัว​
  • 21:16 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7(mb) ลึก​ 60 กม. พิกัด​ 80.14°W 3.29°S พรมแดน​ประเทศ​เปรู​-เอกวาดอร์
  • 07:00 พายุหมุนเขตร้อน​ Calvinia ในมหาสมุทร​อินเดีย​ตอนใต้​ สลายตัว​แล้ว​
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 01:24 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.9 ลึก​ 30 กม. พิกัด​ 35.8°N 141.2°E ใน ทะเล​นอก​ชายฝั่ง​จังหวัด​ชิบะ​ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 4 ตา​มมาตรา​ชิน​โ​ด​ะ​
  • หลังสงบนี่งมานาน ล่าสุดปรากฏจุดดำ (จุดดับ) จุดใหม่ขึ้นที่ซีกใต้ของดวงอาทิตย์ ซึ่งอาจจะใช่หรือไม่ใช่การเริ่มต้นวัฎจักรสุริยะที่ 25 ก็ได้ ต้องดูต่อไปว่าจะหายเงียบไปอีกหรือเริ่มมีจุดดำอื่นเพิ่มเติมขึ้นมา
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 17 ธันวาคม​ 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:50 ทั่วโลกยังไม่พบการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนทุกชนิด ในทุกมหาสมุทร 
  • 18:00 คลื่นความร้อนปกคลุมประเทศออสเตรเลีย อุณหภูมิเฉลี่ย​ทั่วประเทศ​ขึ้นสู่จุดสูงสุดที่ 40.9 °C ทำลาย​สถิติ​เดิมเมื่อวันที่ 7 ม.ค.56 ที่ 40.3 °C แล้ว
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:40 กรุงเทพฯ​ 24°C เชียงราย 13°C เชียงใหม่​ 16°C ลำปาง​ 14°C เลย 14°C น่าน 13°C ตาก 18°C อุบล​ 20°C อุดร 18°C​ นครพนม​ 20°C หนองคาย​ 22°C ร้อยเอ็ด​ 22°C ภูเก็ต​ 24°C แพร่ 14°C สุรินทร์​ 20°C พัทยา 21°C มุกดาหาร​ 20°C กาญจนบุรี​ 23°C พิษณุโลก​ 19°C
  • นักวิทยาศาสตร์พยาการณ์ว่า วัฎจักรสุริยะที่ 25 จะเข้าสู่ช่วงปฏิกกิริยาต่ำสุดในเดือนเมษายน ปี 2020 ± 6 เดือน และเข้าสู่ช่วงปฏิกิริยาสูงสุดในเดือนกรกฏาคม ปี 2525
  • ดวงอาทิตย์เข้าสู่ช่วงปฏิกิริยาต่ำ ปราศจากจุดดับนานถึง 270 วัน (มีช่วงไร้จุดดับติดกันนาน  33 วัน) ถือว่ายาวนานที่สุดนับตั้งแต่เริ่มยุคอวกาศ (62 ปี) เป็นสถิติใหม่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 9 ธันวาคม​ 2562​

เหตุการณ์วันนี้

  • 14:20 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.9 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 104.28°E 31.56°N มณฑล​เสฉวน​ ประเทศ​จีน
  • 13:00 พายุไซโคลน Belna เคลื่อนตัวเข้าใกล้เกาะมาดากัสการ์ พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 14.6°S 45.6°E ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 80 น็อต คาดว่าจะเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งใน 16 ชั่วโมงจากนี้
  • 10:00 พายุดีเปรสชัน Ambali สลายตัวแล้ว
  • 08:12 มีผู้เสียชีวิต​ 5 ราย บาดเจ็บ​ 20 ราย จาการปะทุของภูเขาไฟที่เกาะ Whakaari ใกล้เกาะเหนือนิวซีแลนด์​ โดยภูเขาไฟได้ปะทุเขม่าขึ้นไปบนฟ้าในความสูงถึง 3,658 เมตร เครดิพภาพ @SHC/REUTERS 
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 06:40 กรุงเทพฯ​ 18°C เชียงราย 7°C เชียงใหม่​ 10°C ลำปาง​ 10°C เลย 9.2°C น่าน 11°C ตาก 13°C อุบล​ 15°C อุดร 14°C มุกดาหาร​ 16°C นครพนม​ 11°C หนองคาย​ 14°C ร้อยเอ็ด​ 16°C ภูเก็ต​ 25°C พัทยา 19.3°C โคราช 18°C พิษณุโลก 16°C แพร่ 12°C กาญจนบุรี​ 18°C สุรินทร์​ 14°C
  • 06:00 อุรหภูมิยอดดอยอินทนนท์ 4°C
  • ปี 2019 นี้ กำลังจะทำสถิติดวงอาทิตย์หน้าใสไร้สิวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การบันทึก เหลืออีกเพียง 7 วัน ก็จะแซง 268 วันของปี 2008
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี จังหววัดระนอง (RNTT)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 29 กันยายน 2562

เหตุการณ์วันนี้

  • 23 :02 แผ่นดินไหว แมกนิจูด 4.4 ลึก 10 กม. พิกัด 36.5°N 149.6°E จังหวัดอิบารากิ ประเทศญี่ปุ่น ความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราชินโดะ
  • 22:57 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.7 (Mw) ลึก​ 25 กม. พิกัด​ 72.96°W 35.42°S ในทะเลใกล้ชายฝั่งตอนกลางของประเทศชิลี 
  • 22:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ทวีกำลังเป็นพายไต้ฝุ่น ความเร็วลม กศก. 65 น็อต ค่าความกดอากาศ 975 hPa พิกัดเวลานี้อยู่ที่ N20°40′ เส้นทางเคลื่อนไปทางริมฝั่งทางเหนือของไต้หวัน จากนั้นเคลื่อนไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้ต่อไปในช่วงวันที่ 2-3 ต.ค.
  • 20:00 ปริมาณฝุ่นขนาด PM2.5 ในกรุงเทพฯ เวลานี้ มีค่า 59 µg/m³ ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ AQI=152 เกินค่ามาตรฐาน อยู่ในโซนแดง ไม่ควรออกกำลังกายกลางแจ้ง และควรสวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เมื่อออกนอกเคหสถานเป็นเวลานาน
  • 18:00 พายุแม่เหล็กโลก KP index=5 ที่ก่อตัวตั้งแต่เช้าวานนี้ เริ่มกลับสู่สภาพปกติ
  • 16:02 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก​ 10 กม. พิกัด​ 91.52°E  11.14°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 07:15 สรุปสถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวังจากกรมชลประทาน
  • 07:00 ตำแหน่งศูนย์กลางพายุโซนร้อน “มิทาค” เวลานี้ ภาพศรลมแสดงแสดงความเร็วลม 55 น็อตใกล้ใจกลางพายุ 
  • 07:00 พบการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 16E ชายฝั่งตะวันตกของเม็กซิโก มีแนวโน้มทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนเคลื่อนตัวเข้าอ่าวแคลิฟอร์เนียต่อไป
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก

  • 04:00 พายุโซนร้อน “มิทาค” หรือพายุหมายเลข 18 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลม กศก. 50 น็อต ค่าความกดอากาศ 992 hPa มีแนวโน้มพัฒนาเป็นไต้ฝุ่น เส้นทางเคลื่อนไปทางทะเลจีนตะวันออก จากนั้นเคลื่อนไปขึ้นฝั่งเกาหลีใต้ต่อไปในช่วงวันที่ 2 ต.ค.
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกในรอบเดือน (LD ในตารางคือระยะห่างโลก-ดวงจันทร์)

ชื่อ
วันที่ (UTC)
ระยะห่างจากโลก
ความเร็ว (กม/วินาที)
ขนาด (เมตร)
2019 SU3
2019-Sep-24
2.4 LD
2.6
15
523934
2019-Sep-24
10.9 LD
22.3
257
2019 SW1
2019-Sep-24
3 LD
12.7
13
2019 SY4
2019-Sep-24
19.9 LD
8.8
41
2019 QY3
2019-Sep-26
13.9 LD
8.4
40
2019 SP2
2019-Sep-26
5.7 LD
9.4
59
2017 KP27
2019-Sep-26
4.2 LD
4.7
25
2006 QV89
2019-Sep-27
18.1 LD
4.1
31
2019 SE5
2019-Sep-29
5.7 LD
6.6
15
2019 SO1
2019-Sep-29
11.3 LD
7.5
16
2019 SA5
2019-Sep-29
19.3 LD
7.8
24
2019 SN4
2019-Sep-29
6.5 LD
19.6
48
2019 SH3
2019-Sep-30
3.1 LD
14.2
25
2019 SN3
2019-Sep-30
2.2 LD
7.7
17
2019 SP
2019-Sep-30
6.6 LD
15.1
45
2018 FK5
2019-Oct-01
13.3 LD
10.5
8
2019 SX3
2019-Oct-02
8.7 LD
8.7
31
2018 LG4
2019-Oct-02
13.8 LD
8.1
12
2019 SP3
2019-Oct-03
1 LD
8.7
18
2017 TJ4
2019-Oct-05
13.5 LD
8.9
32
2019 SZ4
2019-Oct-06
18.7 LD
6.5
25
2019 RK
2019-Oct-08
16.7 LD
3.1
30
2019 SE2
2019-Oct-12
19.2 LD
10.2
54
162082
2019-Oct-25
16.2 LD
11.2
589
2017 TG5
2019-Oct-25
14.4 LD
11.9
34
2015 JD1
2019-Nov-03
12.9 LD
11.9
269
2010 JG
2019-Nov-12
19.6 LD
14.9
235
481394
2019-Nov-21
11.3 LD
7.9
372
2008 EA9
2019-Nov-23
10.5 LD
2.2
10

ข้อมูลจาก spaceweather.com

รายงานภัยพิบัติ 29 สิงหาคม 62

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:50 เรดาร์ TMDอุบลฯ  แสดงกลุ่มฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเวลานี้ 
  • 22:07 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.3 (Mw) ลึก 10 กม. พิกัด 128.02°W 43.64°N ในทะเลนอกชายฝั่งโอเรกอน สหรัฐฯ
  • 22:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N17°7′ E107°25′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 994 hPa คาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามในไม่กี่ชั่วโมงจากนี้ 
  • 18:45 เรดาร์ TMD แสดงกลุ่มฝนที่ตกในหลายจังหวัดทางตะวันออกของภาคอีสานเวลานี้
  • 18:03 ภาพดาวเทียมจาก The Weather Chanel แสดงตำแหน่งและลักษณะของพายุ​โซน​ร้อน​ “พอดึล” ที่ยังคงส่งอิทธิพล​ให้มีฝนตกหนักในเวียดนาม ลาว และบางจังหวัด​ในภาคตะวันออก​เฉียง​ของไทยเวลานี้
  • 18:00 อัพเดทแบบประเมินเส้นทางพายุ “พอดึล” จากสำนักอุตุนิยมฯ 6 ประเทศ โดยทาง HKO JTWC JMA และ KMA คาดว่าพายุจะ “เข้าไทย” ทางภาคอีสาน 
  • 16:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N17°35′ E109°10′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa คาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามคืนนี้ต่อเนื่องเช้ามืดพรุ่งนี้ และยังคงส่งผลให้มีฝนตกในหลายจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยตั้งแต่ช่วงเช้าที่ผ่านมา
  • 13:00 พายุดีเปรสชัน 06L ในมหาสมุทรแอตแลนติกใกล้ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐฯ
    ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนได้ชื่อเรียกว่า Erin ล่าสุดอ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชันอีกครั้ง มุ่งขึ้นเหนือไปแคนาดา ส่วนพายุโซนร้อน Dorian ล่าสุดทวีกำลังเป็นพายุเฮอริเคน เคลื่อนผ่านบาร์บาดอสมาหักเลี้ยวที่เปอโตริโก จากนี้จะมุ่งไปขึ้นฝั่งฟลอริดาของสหรัฐฯต่อไป
  • 07:50 เรดาร์ TMD แสดงกลุ่มฝนที่ตกใน จ.อุบลราชธานีและข้างเคียงในเวลานี้ 
  • 07:46 เกิดหลุมโคโรนาขนาดใหญ่บนดวงอาทิตย์ในทิศทางที่หันตรงมายังโลก ลมสุริยะในช่วง 2-4 วันจากนี้จะทวีความเร็วขึ้น ผลคือประเทศแถบใกล้ขั้วโลกมีโอกาสเห็นแสงออโรรามากขึ้น (หลุมโคโรนาตคือบริเวณที่สนามแม่เหล็กอ่อนแรง ทำให้อนุภาคลมสุริยะหลุดรั่วออกมาได้มาก ปรากฏการณ์นี้เป็นเรื่องปกติของดวงอาทิตย์ และจะเกิดอยู่ไม่กี่วันก็หายไป)
  • 07:00 ศูนย์กลางพายุโซนร้อน “พอดึล” 버들 ล่าสุดอยู่ที่พิกัด N17°30′ E111°40′ ความเร็วลม 45 น็อต ความกดอากาศ 992 hPa พายุเดินทางเร็วขึ้น คาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามคืนนี้ต่อเนื่องเช้ามืดพรุ่งนี้ และเริ่มส่งผลให้มีฝนตกใน จ.อุบลฯ และข้างเคียงแล้วในเวลานี้
  • 07:00 กราฟฟิคจากสำนักระบายน้ำ แสดงปริมาณฝนที่ตกใน กทม 24 ชม.ที่ผ่านมา
    ขาว=ไม่มี เขียว=เบามาก เหลือง=เบา ส้ม=ปานกลาง แดง=หนัก ม่วง=หนักมาก
  • 06:46 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 6.1 (Mjma) ลึก 10 กม. พิกัด 41.0N 143.1E ในทะเลนอกชายฝั่งจังหวัดโอโมริ ความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราชินโดะ
  • 06:00 อัพเดทแบบประเมินเส้นทางพายุ “พอดึล” จากสำนักอุตุนิยมฯ 6 ประเทศ โดยทาง HKO JTWC และ JMA คาดว่าพายุจะ “เข้าไทย” ทางภาคอีสาน ส่วนทาง CMA CWB และ KMA คาดว่าพายุจะสลายตัวใน สปป ลาว
  • 05:00 ภาพดาวเทียมจาก The Weather Chanel แสดงตำแหน่งและลักษณะของพายุ​โซน​ร้อน​ “พอดึล” ที่เริ่มส่งอิทธิพล​ให้มีฝนตกหนักในเวียดนาม ลาว และบางจังหวัด​ในภาคตะวันออก​เฉียง​ของไทยเวลานี้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหวจากสถานีเขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง (LAMP)
    ของสำนักเฝ้าระวังฯ กรมอุตุฯ จากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวทั่วโลกและอาฟเตอร์ช็อกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)