รายงานภัยพิบัติ 15 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:17 แผ่นดินไหวขนาด 4.8 (mb) ลึก 10 กม.พิกัด 84.23°E 40.85°N มณฑลซินเจียง ประเทศจีน
  • 13:15 ระดับน้ำโขงที่สถานี MRC เชียงคาน (เวลาในกล้องไม่ตรง)
  • 10:00 พายุดีเปรสชัน 09E ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า ILEANA เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งบริเวณเมืองกาโบซันลูกัส รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของเม็กซิโก ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักน้ำท่วมขัง
  • 09:54 แผ่นดินไหวขนาด 5.0(mb) ลึก 151 กม.พิกัด 67.25°W 27.48°S รัฐคาตามาร์กา ประเทศอาร์เจนทีนา
  • 09:15 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 03:15
  • 07:00 ระดับน้ำโขงที่หนองคายขึ้นถึงจุดสุดเช้านี้ จากนี้มีแนวโน้มค่อยๆลดระดับลง
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 04:37 แผ่นดินไหวขนาด 5.2 (mb) ลึก 128 กม.พิกัด 99.04°E 1.91°N จังหวัดสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย
  • 01:00 พายุโซนร้อน “บึบิงกา” Bebinca เคลื่อนตัวผ่านโอกินาวา ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 65 น็อต เทียบเท่าระดับ 1 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน ความกดอากาศ 974 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 29.0°N 128.2°E ในทะเลจีนตะวันออก เคลื่อนตัวไปขึ้นฝั่งประเทศจีน บริเวณนครเซี่ยงไฮ้
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:55 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 14 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:45 เกิดการปะทุในระดับความรุนแรง X4.5 จากจุดมืดหรือจุดปฏิกิริยาหมายเลข 3825 ที่ขอบด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ในทิศทางที่ไม่หันตรงมาทางโลกเรา จึงไม่เกิดผลกระทบใดๆ ยกเว้นเกิดการขาดหายของการสื่อสารวิทยุในช่วงคลื่น 30MHz เป็นเวลาครึ่งชั่วโมงหลังจุดพีคของการปะทุคือ 23:29 ตามเวลาไทย ในประเทศแถบอเมริกาใต้และหมู่เกาะในแอตแลนติก ซึ่งเป็นข่วงกลางวันจึงหันหาดวงอาทิตย์พอดี
  • 19:05 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 17:56 แผ่นดินไหวขนาด 4.9 (mb) ลึก 60 กม.พิกัด 92.41°E 6.33°N หมู่เกาะนิโคบาร์ มหาสมุทรอินเดีย
  • 16:15 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 10:15
  • 07:30 น้ำโขงเออเข้าท่วมถนนประจักษ์ บขส.หนองคาย ตลาดสดโพธิ์ชัย ตลาดสดชัยพร วัดโพธิ์ชัย Cr.ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:30
  • 01:29 แผ่นดินไหวขนาด 5.0 (mb) ลึก 10 กม.พิกัด 86.56°E 31.57°N เขตปกครองตนเองทิเบต
  • 01:00 พายุโซนร้อน “บึบิงกา” Bebinca เคลื่อนตัวมาที่พิกัด 25.2°N 132.7°E ทางตะวันออกเฉียงใต้ของโอกินาวา ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุคงที่ที่ 45 น็อต ความกดอากาศ 986 hPa แนวโน้มเคลื่อนตัวผ่านโอกินาวา จากนั้นทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นไปขึ้นฝั่งมณฑลเจ้อเจียงของจีน
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 13 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:45 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 19:50 พื้นที่ริมโขงในเมืองหนองคาย มีน้ำจากแม่น้ำโขงไหลทะลักท่วมถนนและเข้าตามท่อระบายน้ำ เฝ้าระวัง ถนนประจักษ์ศิลปาคม ต.ในเมือง อ.เมือง จ.หนองคาย
  • 10:30 แม่น้ำโขงล้นฝั่งเข้าท่วมถนนและบ้านเรือนประชาชน ที่มา สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดหนองคาย
  • 10:15 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 04:15
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 06:00 เขื่อนเจ้าพระยาลดการระบายน้ำลง ระดับน้ำที่ท่วมบางบาลและแม่น้ำน้อยลดลง
  • 01:00 พายุโซนร้อน “บึบิงกา” Bebinca เคลื่อนตัวมาที่พิกัด 21.0°N 137.5°E ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 45 น็อต ความกดอากาศ 988 hPa แนวโน้มเคลื่อนตัวผ่านโอกินาวา จากนั้นทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นไปขึ้นฝั่งมณฑลเจ้อเจียงของจีน
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 12 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:30 เรดาร์ฝน TMD ชัยนาท (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกลางช่วง 1 ชั่วโมง15 นาทีที่ผ่านมา (เวลาในภาพเป็นเวลา UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
  • 11:00 สภาพน้ำท่วมบริเวณห้าแยกพ่อขุน จ.เชียงราย เครดิต Tiktok @nxxs2002
  • 10:00 พบการก่อตัวใหม่ของพายุดีเปรสชัน 07L ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันตกของสาธารณรัฐกาบูเวร์ดี พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 16.5°N 31.3 °W ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 30 น็อตเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน โดยไม่ขึ้นฝั่งประเทศใด
  • 07:00 แม่น้ำโขงที่เชียงคานเต็มตลิ่ง กำลังจะเริ่มล้น
  • 07:00 พายุโซนร้อน “บึบิงกา” Bebinca ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะกวม ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 50 น็อต ความกดอากาศ 995 hPa แนวโน้มทวีกำลังเป็นอายุไต้ฝุ่นเคลื่อนตัวผ่านโอกินาวาไปขึ้นฝั่งมณฑลเจ้อเจียงของจีน
  • 07:00 ภาพมุมสูงสภาพน้ำท่วมในจังหวัดเชียงราย
  • 07:00 พายุดีเปรสชั่น 06L ที่ก่อตัวขึ้นในอ่าวเม็กซิโก และได้ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อนจนกลายเป็นพายุเฮอริเคนตามลำดับได้ชื่อเรียกว่า “Francine” ล่าสุดเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งรัฐลุยเซียน่า ด้วยความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 70 น็อต ความกดอากาศ 980 hPa แนวโน้มอ่อนกำลังลง เคลื่อนตัวขึ้นทางทิศเหนือ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 02:15 เรดาร์ฝน TMD สกลนคร (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วง 1 ชั่วโมง15 นาทีที่ผ่านมา (เวลาในภาพเป็นเวลา UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
  • 02:00 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 20:00
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 11 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:50 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 14:28 แผ่นดินไหวขนาด 5.4 (mb) ลึก 35 กม.พิกัด 70.62°E 31.29°N ปากีสถาน
  • 08:50 ภาพมุมสูง น้ำท่วมสี่แยกขัวเจ้ทา ต.เวียง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
  • 08:06 สถานการณ์น้ำท่วม บริเวณถนนเหมืองแดง อ.แม่สาย จ.เชียงราย Cr.ชุมชนคนแม่สาย
  • 07:00 ระดับน้ำที่แม่น้ำโขงสถานีเชียงคานมีโอกาสล้นตลิ่งมากกว่า 1 เมตรในวันที่ 14 กันยายนเป็นต้นไป
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 01:00 พายุดีเปรสชัน 14W ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า “บึบิงกา” Bebinca เป็นชื่อขนมพุดดิงชนิดหนึ่ง ตั้งโดยมาเก๊า ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 35 น็อต ความกดอากาศ 999 hPa เคลื่อนตัวไปทางรอยต่อมณฑลเจ้อเจียง-เจียงซู แนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 10 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:50 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 16:30 ฝนหนักและต่อเนื่องจากหย่อมความกดอากาศต่ำที่สลายตัวของพายุยางิ ทำให้เกิดน้ำป่าไหลเข้าท่วมอำเภอแม่สายจังหวัดเชียงราย ในภาพเป็นช่วงหน้าด่านแม่สาย เครดิตภาพ ท้องถิ่นนิวส์
  • 13:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุดีเปรสชั่น 14W ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 25 น็อต ความกดอากาศ 1002 hPa เคลื่อนตัวไปทางโอกินาวา
  • 13:00 หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 94W ในทะเลจีนตะวันออก มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 20 น๋อต ค่าความกดอากาศ 1002 hPa แนวโน้มเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ
  • 12:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 06:30
  • 07:30 หย่อมความกดอากาศต่ำหลังการสลายตัวของพายุยางิ ส่งผลให้เกิดปริมาณฝนมหาศาลใน สปป. ลาว เขื่อนน้ำทามีน้ำล้น  ต้องหยุดผลิตไฟฟ้าและต้องระบายน้ำออกท่วมเทศบาลเมืองหลวงน้ำทา ชาวบ้านตั้งตัวไม่ทัน บ้านเรือนจมน้ำ แม้กระทั่งสนามบินน้ำทา ก็มีน้ำท่วมอาคารผู้โดยสารและรันเวย์ในระดับสูง (รันเวย์คือกรอบสีแดงในภาพ)  ที่มา Facebook : Soulisack Houmvixay
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:30
  • 06:00 เขื่อนเจ้าพระยาระบายน้ำคงที่ น้ำที่ท่วมแถวบางบาลและแม่น้ำน้อยเริ่มลดลง
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 9 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:18 ยาน SOHO บัยทึกการปะทุและปล่อยมวลสาร CME ออกจากดวงอาทิตย์ในฝั่งที่ไม่ได้หันมาทางโลก
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • 01:00 พายุดีเปรสชัน “หลี่ผี” ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก สลายตัวแล้ว
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 8 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:00 เกิดไฟป่าขนาดใหญ่ ในรัฐแคริฟลอเนีย สหรัฐฯ ไหม้เนื้อที่ราว 17000 เอเคอร์ มีบ้านเรือนได้รับผลกระทบและเสียหาย 1267 หลัง ทางการอพยพ ปชช. 3000 คน พบผู้บาดเจ็บ 9 ราย
  • 19:00 ดีเปรสชัน  “ยางิ” やぎ Yagi สลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ ที่พิกัด 21.6°N 103.4°E ในเวียดนาม
  • 13:00 พายุโซนร้อน “ยางิ” やぎ Yagi  อ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชัน
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 04:00 ไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 55 น็อต ความกดอากาศ 985 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 21.2°N 105.1°E ในประเทศเวียดนาม เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกค่อนไปทางเหนือ
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 7 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 10:00
  • 13:30 ความรุนแรงของกระแสลม จากไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในเมืองฮาลอง จังหวัดกว๋างนิญ ของเวียดนาม
  • 13:00 ไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางกว่า 110 น็อต หรือ 203 กม/ชม ความกดอากาศ 942 hPa เทียบเท่าระดับ 3 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งเวียดนามที่พิกัด 21.0°N 106.9°E บริเวณจังหวัดกว๋างนิญ เส้นทางมุ่งต่อไปทางตะวันตกค่อนไปทางเหนือ คาดว่าจะอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันในมณฑลยูนนานของจีนต่อไป
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:00 สถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา
  • 01:00 ไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi เคลื่อนตัวลงสู่อ่าวตังเกี๋ย  เริ่มอ่อนกำลังลง  ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุลดลงเหลือ 105 น็อต เทียบเท่าระดับ 3 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน พิกัดล่าสุดอยู่ที่  20.3°N 109.0°E ค่าความกดอากาศ  937 hPa มุ่งหน้าไปขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 6 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 เกิดไฟป่าในเมืองลา คาเลรา รัฐกอร์โดบา ประเทศอาร์เจนตินา
  • 15:00 พลังลมของ ไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi บนเกาะไหหลำ
  • 14:30 ไต้ฝุ่น  “ยางิ” やぎ Yagi ขึ้นฝั่งเกาะไหหลำด้วยความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 125 น็อตความกดอากาศ 928 hPa
  • 13:00 เรดาร์​ฝน​ TMD สกลนคร​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ ช่วง 1 ชั่วโมง​15 นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 08:06 แผ่นดินไหวขนาด 5.4 (mb) ลึก 10 กม.พิกัด 102.67°E 5.44°S ในทะเลทางตะวันตกของจังหวัดลัมปุง เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย
  • 07:00 พบการก่อตัวใหม่ของหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 95W ทางตะวันตกของหมู่เกาะมาร์แชลล์ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 15 น็อต ความกดอากาศ 1010 hPa แนวโน้มถวีกำลังเป็นพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ
  • 07:00 พายุดีเปรสชัน 13W ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า “หลี่ผี” ຫຼີ່ຜີ Leepi ตั้งโดย สปป.ลาว เป็นชื่อแก่งน้ำตกในแม่น้ำโขงบริเวณตอนใต้สุดของประเทศ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 30 น็อต พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 35.8°N 148.3°E  ไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่งประเทศใด
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:30
  • 01:00 พายุไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ เคลื่อนตัวมาที่พิกัด  19.2°N 113.0°E โดยมีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุคงที่ที่ 130 น็อต ความกดอากาศ 923 hPa เทียบเท่าระดับ 4 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งเกาะไหหลำ-จังหวัดจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง วันนี้
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)