[stextbox id=”info”]หมายเลขการนับพายุของทางสากลจะเป็นคนละระบบกับญี่ปุ่นและฟิลิปปินส์ พายุดีเปรสชันที่ทางญี่ปุ่นประกาศเมื่อ 18 ก.ค. นั้นทางสากลไม่นับเป็น 09W แต่มานับลูกที่เกิดเวลานี้แทน[/stextbox]
เหตุการณ์วันนี้
- ยอดผู้เสียชีวิตจากไข้เลือดออก 1 ม.ค. 56 ถึงขณะนี้ ทั้งสิ้น 83 ราย
- 22:15 เส้นทางพายุหรือเส้นสปาเก็ตตี้ของพายุโซนร้อนเชบี คำนวนล่าสุดจากสำนักพายุสำคัญของโลก โดยการรวบรวมของเว็บ Devid Samsiu จากฮ่องกง
- 21:30 พายุดีเปรสชันเชบี 제비 ทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 35 น็อต ทิศทางอาจเข้ามาลึกถึงตอนเหนือของลาว (ติดตามความเปลี่ยนแปลงทุก 3-6 ชม)
- 17:00 พายุดีเปรสชัน 09W ได้รับการตั้งชื่อแล้วว่า Jebi 飛燕 เชบี 제비 ภาษาเกาหลีแปลว่านกนางแอ่น เส้นทางพายุเบื้องต้น จะขึ้นฝั่งที่เกาะไหหลำ ลงอ่าวตังเกี๋ย แล้วขึ้นฝั่งเวียดนามอีกครั้งทางใต้ของฮานอย
- 13:00 JTWC ตรวจพบหย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวใหม่อีก 2 หย่อมทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ คือ 93W และ 94W
- 12:00 สภาพน้ำท่วมบริเวณด่านเมียวดี ประเทศพม่า ตรงข้าม อ.แม่สอด จ.ตาก (เครดิตภาพ-Skyny lovelink)
- 10:00 ทุกหน่วยงานจับตาดูพายุดีเปรสชัน 09W ในทะเลจีนใต้ ซึ่งกำลังทวีกำลังแรงขึ้น มีโอกาสกลายเป็นพายุโซนร้อนซึ่งจะได้รับชื่อเรียกว่าเชบี Jebi (ภาษาเกาหลี) โดยเส้นทางพายุจากหน่วยงานในประเทศต่างๆเป็นไปดังภาพนี้
- 09:00 สภาพน้ำท่วมตรงแม่น้ำเมย อ.แม่สอด จ.ตาก เวลานี้ (เครดิตภาพเก๋ FB Jadai)
- 08:55 สภาพริมน้ำเมยในฝั่งไทยยังท่วมหนัก
- 08.54 สภาพอ่่าวพร้าวล่าสุด ณ เวลนี้ หลังระดมขจัดคราบน้ำมันอยู่ 3 วัน
- 07:00 ภาพถ่ายดวงอาทิตย์ในย่านแสง 193 อังคสตอร์มแสดงให้เห็นว่ากำลังเกิดหลุมโคโรนาหันตรงมาทางโลก ลมสุริยะความเร็วสูงจากหลุมโคโรนา จะเดินทางมาถึงโลกวันที่ 4-5 สิงหาคมนี้ อายมึผลทำให้เกิดพายุแม่เหล็ก เกิดแสงออโรราในแถบซีกโลก
- 06:32 ทาง JTWC ประกาศการก่อตัวของพายุดีเปรสชัน 09W ในทะเลจีนใต้แล้ว ภาพกลุ่มเมฆฝนของพายุจะดึงกระแสลมตะวันตกให้ผ่านไทย
- 06:00 ระดับน้ำในเขื่อนสำคัญทั่วไทย ยังต่ำมากในเช้าวันนี้
- 03:30 ทาง JTWC ระบุว่าหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังปานกลาง 91W ในทะเลจีนใต้แปรสภาพเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง แต่ไม่ประกาศเป็นดีเปรสขันตาม JMA (อุตุญี่ปุ่น) หรือตามอุตุเวียดนาม ที่ประกาศเป็นดีเปรสชันไปก่อนแล้ว
- คลื่นความร้อนก็ได้เคลื่อนตัวเข้าปกคลุม 19 มณฑลของจีนทำให้อุณหภูมิโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 35°C โดยเฉพาะเมืองหางโจวซึ่งเป็นเมืองเอกอุณหภูมิสูงถึง 38°Cเซลเซียส บางพื้นที่อุณหภูมิพุ่งขึ้นถึง 42°C
- เกิดน้ำท่วมจากฝนหนักในจอร์เจีย ทำให้เมืองเซนากิจมอยู่ใต้น้ำที่ท่วมสูงราว 80 เซนติเมตร
- เกิดน้ำท่วมจากฝนหนักหลายวันในฝั่งเมียวดีของพม่า ยังไม่ทราบยอดเจ็บตาย (เครดิตภาพ .Worachat Limleartworrakit)
- เมืองยอร์กเชียร์ของอังกฤษโดนฝนถล่มน้ำท่วมฉับพลันวานนี้ถนนหลายสายในเมืองถูกน้ำกัดเซาะพัง
- พายุทอร์นาโดพัดถล่มนครมิลานของอิตาลี ทำลายรถยนต์และบ้านเรือนหลายหลัง มีรายงานผู้บาดเจ็บแล้ว 12 รายคน ยังไม่มีผู้เสียชีวิต เบื้องต้น ทางการได้สั่งปิดโรงงานหลายแห่งที่อยู่ในพื้นที่ประสบภัย พร้อมส่งเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบสภาพความเสียหาย เพื่อความปลอดภัยแล้ว [wpvp_embed type=youtube video_code=-7d4YwEXer8 width=560 height=315]
- แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม
แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )
- คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)
[stextbox id=”black”]เนื่องจากทาง USGS ได้เปลี่ยนแปลง Feed รายงานแผ่นดินไหวใหม่ นับจากพรุ่งนี้ ทางเราอาจจะเปลี่ยนไปใช้ Feed รายงานแผ่นดินไหวจาก EMSC หรือ Geofon แทนตามความเหมาะสม[/stextbox]
-
เมื่อ 23.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 249.50 กม.
-
เมื่อ 23.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางตะวันออกของ เกาะนิวกินี ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 70.60 กม.
- เมื่อ 23.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 19.00 กม.
- เมื่อ 22.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 112.10 กม.
- เมื่อ 21.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 51.00 กม.
- เมื่อ 21.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ เกาะอีสเตอร์ ที่ความลึก 9.50 กม.
-
เมื่อ 17.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะเหนือของประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 26.80 กม.
-
เมื่อ 17.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศกรีซ ที่ความลึก 52.00 กม.
-
เมื่อ 17.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งของ ทางเหนือของ ประเทศเปรู ที่ความลึก 30.20 กม.
-
เมื่อ 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 195.60 กม.
-
เมื่อ 15.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ เกาะโคดิแอค อลาสกา ที่ความลึก 34.00 กม.
-
เมื่อ 15.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 47.20 กม.
-
เมื่อ 14.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 56.00 กม.
- เมื่อ 13.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 32.00 กม.
- เมื่อ 12.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 20.70 กม.
-
เมื่อ 12.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 3.10 กม.
-
เมื่อ 11.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 110.70 กม.
- เมื่อ 09.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 6.80 กม.
- เมื่อ 07.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ทะเลโมลุกกะ ที่ความลึก 9.40 กม.
-
เมื่อ 07.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 9.00 กม.
-
เมื่อ 07.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 14.30 กม.
-
เมื่อ 05.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 40.60 กม.
-
เมื่อ 04.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ จังหวัดปาปัว ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 55.00 กม.
-
เมื่อ 04.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.30 กม.
- เมื่อ 02.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Jalisco ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 96.60 กม.
- เมื่อ 01.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 16.90 กม.
-
เมื่อ 00.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Oaxaca ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 98.30 กม.
-
เมื่อ 00.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 76.00 กม.