[stextbox id=”info”]ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนไปมาก ปีนี้ ประเทศไทยกลายเป็น “ทางผ่านพายุ” ถึง 4 ลูก ไม่เคยเป็นแบบนี้มาก่อน คือไซโคลนไพลิน (มาจาก LPA90W ในอ่าวไทย) BOB05 (มาจากวิลมา หรือ TD30W ที่ถล่มภาคใต้ 8 พ.ย.) เลฮาร์ (มาจาก LPA92W ที่ถล่มภาคใต้ 21 พ.ย) และ เฮเลน (จากพอดึล )[/stextbox]
เหตุการณ์วันนี้
- 19:00 พายุดีปรสชัน Alessia ที่ประเทศออสเตรเลีย สลายตัวแล้ว
- 17:30 พายุโซนร้อนเลฮาร์ ทางตะวันตกของหมู่เกาะอันดามัน แปรสภาพเป็นพายุไซโคลนแล้วในเวลานี้ ทิศทางมุ่งไปอินเดีย
- 17:00 ซินาบุง ปะทุถึง 8 ครั้งใน 3 ชั่วโมงที่ผ่านมา ขณะนี้ ปชช กว่า 12,300 ราย ถูกสั่งให้อพยพออกมาแล้ว ดูกล้องสดที่นี่
- 16:00 ตำแหน่งของภูเขาไฟซินาบุงในเกาะสุมาตรา ซึ่งหากการปะทุทำให้ลดแรงดันลงไปได้ก็เป็นเรื่องดี หากระเบิดขึ้นมาก็ขอให้ระดับความแรงต่ำกว่า VEI 6 เพราะหากถึง 6 จะมีสึนามิเกิดขึ้นมาได้ (จากการประเมิณน่าจะอยู่ที่ระดับ VEI 4 ไม่เกิน VEI 5)
- 15:00 ทางการอินโดฯยกระดับการเตือนภัยภูเขาไฟซินาบุงในสุมาตราขึ้นระดับสูงสุดแล้วขณะนี้ (อ่านเนื้อข่าว BBC) ภาพจาก AP
- 13.27 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 ตามมาตราโมเมนต์ บริเวณ หมู่เกาะฟลอ์คแลนด์ ที่ความลึก 2 กม.
- 13:30 ฝนตกเขตพระนคร ป้อมปราบฯ นนทบุรี บางกรวย
- 12.56 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 40 กม.
- 12:00 ตาย 13 รายในสหรัฐฯ จากพายุฤดูหนาวในรัฐโอคลาโฮมา เท็กซัส แคลิฟอเนีย อริโซนาและนิวเม็กซิโก ในภาพเป็นต้นไม้ล้มในแคลิฟอเนียจากลมกระโชก เครดิตภาพ AP
- 08:30 เกิดน้ำท่วมใหญ่ในเมืองบังกาลอร์ (ประเทศอินเดีย) จากปริมาณน้ำฝน 108 มม ยังไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต
- 07:30 ภาพชัดๆ – การปะทุครั้งล่าสุดของภูเขาไฟเอทนา ในอิตาลี ทางการยังไม่มีคำสังอพยพ
- 05:09 พายุโซนร้อนเลฮาร์ เคลื่อนห่างออกไปถึงเกาะนิโคบาร์แล้ว ภาคใต้ฝนซา ฟ้าเปิด
- ภาพการปะทุของภูเขาไฟซากุระชิมา ในญี่ปุ่น 16:30 ตามเวลาที่นั่นเมื่อวานนี้ ถ่ายจากบนรถไฟโดย @KiriJax
- แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม
แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )
- คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)
- 23.38 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ KYUSHU ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 32 กม.
- 22.57 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ POTOSI BOLIVIA ที่ความลึก 181 กม.
- 22.43 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของหมู่เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 60 กม.
- 21.45 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ ตอนกลาง ประเทศปรู ที่ความลึก 78 กม.
- 19.34 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ ทะเลสคอเทีย ที่ความลึก 2 กม.
- 16.55 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ นอกชายฝั่ง GUATEMALA ที่ความลึก 51 กม.
- 16.01 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ KEPULAUAN BARAT DAYA ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 242 กม.
- 15.37 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ SOUTH ATLANTIC OCEAN ที่ความลึก 10 กม.
- 15.21 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 ตามมาตราริกเตอร์ บริเวณ นอกชายฝั่ง BIO-BIO ประเทศชิลี ที่ความลึก 12 กม.
- 14.56 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ SOUTH ATLANTIC OCEAN ที่ความลึก 10 กม.
- 14.22 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 112 กม.
- 14.21 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.4 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ SOUTH ATLANTIC OCEAN ที่ความลึก 2 กม.
- 13.41 เกิดอาฟเตอร์ช็อค ขนาด 5.5 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ หมู่เกาะฟลอ์คแลนด์ ที่ความลึก 30 กม.
- 13.27 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 ตามมาตราโมเมนต์ บริเวณ หมู่เกาะฟลอ์คแลนด์ ที่ความลึก 2 กม.
- 12.56 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 40 กม.
- 10.23 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ SAKHALIN ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40 กม.
- 10.23 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 ตามมาตราริกเตอร์ บริเวณ ประเทศอิหร่าน-ประเทศอิรัค (ตรงพรมแดน) ที่ความลึก 15 กม.
- 09.01 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 ตามมาตราริกเตอร์ บริเวณ ประเทศอิหร่าน-ประเทศอิรัค (ตรงพรมแดน) ที่ความลึก 2 กม.
- 07.40 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 113 กม.
- 07.09 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ ทางทิศใต้ของมณฑลซินเจียง ประเทศจีน ที่ความลึก 1 กม.
- 06.50 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 ตามมาตราริกเตอร์ บริเวณ SALTA ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 198 กม.
- 05.04 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ สันเขากลางมหาสมุทรอินเดีย ที่ความลึก 33 กม.
- 03.49 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ ทางทิศตะวันตกของประเทศตุรกี ที่ความลึก 7 กม.
- 02.58 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 162 กม.
- 02.16 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 ไม่ระบุมาตราวัด บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 167 กม.
- 01.05 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ ประเทศอิหร่าน-ประเทศอิรัค (ตรงพรมแดน) ที่ความลึก 10 กม.
- 01.03 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 ตามมาตราคลื่นตัวกลาง บริเวณ ประเทศอิหร่าน-ประเทศอิรัค (ตรงพรมแดน) ที่ความลึก 10 กม.