รายงานภัยพิบัติ 5 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 11:30 ภาพดาวเทียมแบบเคลื่อนไหว ของพายุไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุมากกว่า 242 กม./ชม แล้วในเวลานี้ ยังคงมุ่งหน้ามาทางจังหวัดจ้านเจียง -เกาะไหหลำ จากนั้นคาดว่าจะขึ้นฝั่งเวียดนามต่อไป
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:15 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:15
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • 01:00 พายุไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเพิ่มขึ้นเป็น 120 น็อต หรือมากกว่า 220 กม./ชม เทียบเท่าระดับ 4 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน ความกดอากาศ 932 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 19.2°N 116.3°E แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งจังหวัดจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง ภายใน 48 ชั่วโมงข้างหน้า
  • 00:08 ดาวตกจากดาวเคราะห์น้อย 2024 RW1 ขนาดประมาณ 1 เมตร เข้ามาในบรรยากาศโลก มองเห็นได้จากท้องฟ้าจังหวัดคากายัน ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน ประเทศฟินแลนด์
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 4 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 พายุไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเพิ่มขึ้นเป็น 110 น็อต เทียบเท่าระดับ 3 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน ความกดอากาศ 968 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 19.2°N 116.9°E แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งจังหวัดจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง คืนวันที่ 6 ก.ย. จากนั้นลงสู่อ่าวตั้งเกี๋ย แล้วเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งเวียดนามประมาณวันที่ 7 ก.ย.
  • 13:00 พายุไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเพิ่มขึ้นเป็น 80 น็อต เทียบเท่าระดับ 1 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน ความกดอากาศ 977 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 19.2°N 117.4°E แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งจังหวัดจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง จากนั้นลงสู่อ่าวตั้งเกี๋ย แล้วเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งเวียดนามประมาณวันที่ 7 ก.ย.
  • 12:30 ภาพถ่ายดาวเทียมแบบเคลื่อนไหวของไต้ฝุ่น “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้
  • 07:00 พายุโซนร้อน  “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 70 น็อตเทียบเท่าระดับ 1 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน ความกดอากาศ 977 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 19.1°N 117.7°E แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งจังหวัดจ้านเจียง มณฑลกวางตุ้ง จากนั้นลงสู่อ่าวตั้งเกี๋ย แล้วเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 07:00 หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 93W ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกทวีกำลังขึ้นเป็นพายุดีเปรสชั่น 13W ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 30 น็อตความกดอากาศ 1001 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 27.7°N 147.0°E เคลื่อนตัวขึ้นทางเหนือ ไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่งประเทศใด
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 01:00 พายุหมุนเขตร้อนทั่วโลกสลายตัวหมดแล้ว เหลือเพียงพายุโซนร้อน  “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ ที่กำลังพัฒนาเป็นไต้ฝุ่นมุ่งหน้ามาทางกวางตุ้งและเวียดนาม
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 3 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 16:30
  • 19:00 พายุโซนร้อน “ยางิ” やぎ Yagi ในทะเลจีนใต้ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 50 น็อต ความกดอากาศ 993 hPa มีพิกัดล่าสุดอยู่ที่ 18.8°N 119.0°E แนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น ขึ้นฝั่งมณฑลกวางตุ้งของจีน จากนั้นจะลงสู่อ่าวตังเกี๋ย อ่อนกำลังเป็นพายุโซนร้อนขึ้นฝั่งเวียดนาม
  • 15:30 น้ำท่วมขังถนนใน ต.หัวทะเล อ.เมือง จ.โคราช จากฝนที่ตกหนัก เครดิต KoratWay
  • 07:00 พายุโซนร้อน “ยางิ” やぎ Yagi หรือ Enteng ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์ เคลื่อนตัวลงสู่ทะเลจีนใต้ พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 18.3°N 119.5°E ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง  40 น็อต ความกดอากาศ  999 hPa แนวโน้มทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นขึ้นฝั่งเกาะไหหลำภายใน 96 ชั่วโมงข้างหน้า จากนั้นจะเคลื่อนตัวลงอ่าวตังเกี๋ย ขึ้นฝั่งเวียดนามต่อไป
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 06:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:30
  • 05:15 เรดาร์ฝน TMD ชัยนาท (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกลางช่วง 1 ชั่วโมง15 นาทีที่ผ่านมา (เวลาในภาพเป็นเวลา UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 2 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:12 เรดาร์กรมฝนหลวงสาขาสัตหีบ แบบเคลื่อนไหว แสดงกลุ่มฝนที่ตกในภาคตะวันออกและภาคกลางตอนล่างตลอดช่วง 30 นาที่ผ่านมา (เวลาในภาพเป็นเวลา UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
  • 16:00 พายุโซนร้อน “ยางิ” やぎ Yagi หรือ Enteng ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์ มีศูนย์กลางพายุอยู่ในจังหวัดคีรีโน บนเกาะลูซอน หลังเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งบริเวณเทศบาลเมืองเคาสิกูรัน จังหวัดออโรร่าเมื่อช่วงบ่ายที่ผ่านมา
  • 13:00 พายุโซนร้อน “ยางิ” やぎ Yagi หรือ Enteng ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์ เคลื่อนตัวเข้าประชิดฝั่งเกาะลูซอนที่พิกัด 16.4°N 122.3°E ด้วยความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ 45 น็อต ความกดอากาศ 996 hPa คาดว่าจะเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งช่วงบ่ายวันนี้จากนั้นก็จะเคลื่อนตัวลงสู่ช่องแคบฟิลิปปินส์แล้วต่อเนื่องเข้าสู่ทะเลจีนใต้ โดยจะทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งมณฑลกวางตุ้งต่อไป
  • 13:00 พายุโซนร้อน “อัสนา” Asna ที่ก่อตัวมาจากดีเปรสชัน 02A ในทะเลอาหรับ ได้อ่อนกำลังลงเป็นดีเปรสชันอีกครั้ง มีพิกัดล่าสุดอยู่ที่ 20.5°N 61.1°E ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 25 น็อต ความกดอากาศ 1000 hPa เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงใต้ แนวโน้มสลายตัว
  • 07:00 ระดับน้ำในแม่น้ำโขงเช้านี้ยังไม่มีสถานีไหนน่าเป็นห่วง
  • 07:00 พายุโซนร้อน “ยางิ” やぎ Yagi หรือ Enteng ตามวิธีเรียกแบบฟิลิปปินส์ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางเพิ่มขึ้นเป็น 40 น็อต หลังเคลื่อนตัวลงจากฝั่งจังหวัดคาตันดัวเนส เส้นทางพายุมุ่งไปขึ้นฝั่งครั้งที่ 2 ที่จังหวัดอิสซาเบลลาบนเกาะลูซอน จากนั้นมีแนวโน้มจะเคลื่อนตัวลงสู่ช่องแคบฟิลิปปินส์แล้วเข้าสู่ทะเลจีนใต้ โดยจะทวีกำลังขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นมุ่งไปทางตอนใต้ของจีนต่อไป
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 01:20 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 01:18 เรดาร์​กรมฝนหลวง​สาขาสัตหีบ​ แบบ​เคลื่อนไหว​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​และ​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​ตลอดช่วง 30 นาที่​ผ่าน​มา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก ​7​ ชั่วโมง​ให้​เป็นเวลา​ไทย)​
  • 01:00​ ​แผนที่​อากาศ​จาก​ JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 1 กันยายน 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:10 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 19:00 หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 92W ในทะเลฟิลิปปินส์ ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุดีเปรสชัน 12W ทวีกำลังต่อเนื่องเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า “ยางิ” やぎ Yagi ตั้งโดยญี่ปุ่น หมายถึงกลุ่มดาวแพะทะเล ส่วนทางฟิลิปปินส์​เรียกพายุ​ลูก​นี้ว่า Enteng ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 30 น็อต ความกดอากาศ 999 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 13.5°N 124.7°E แนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นไต้ฝุ่น เคลื่อนตัวผ่านช่องแคบฟิลิปปินส์ไปทางทะเลจีนใต้
  • 15:00 สถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา เขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มอัตราระบายน้ำขึ้นเล็กน้อยจากเช้าวานนี้ ระดับน้ำที่บ้านหลวงโดด บางบาล อยุธยา ล้นตลิ่ง 15 ซ.ม.
  • 14:00 อุณหภูมิในเขตซานเสียใกล้กรุงไทเป สูงแตะ 40.6°C ทำสถิติใหม่ของเดือนกันยายนที่ร้อนสุดเทียบกับทุกปีที่มีบันทึกมา
  • 13:00 แบบจำลอง GFS ระยะ 174 ชั่วโมงจากนี้
  • 10:42 แผ่นดินไหวขนาด 5.5 (mb) ลึก 10 กม.พิกัด 91.76°E 8.14°N หมู่เกาะนิโคบาร์ มหาสมุทรอินเดีย
  • 07:00 ระดับน้ำในแม่น้ำโขงสถานีวัดหนองคายและนครพนมต่ำกว่าตลิ่ง และมีแนวโน้มลดลง
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • 01:00 พบการก่อตัวใหม่ของหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 92W ในทะเลฟิลิปปินส์ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 20 น็อต ความกดอากาศ 1004 hPa พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 11.5°N 127.7°E แนวโน้มทวีกำลังขึ้นเป็นพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวขึ้นทางทิศเหนือ
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 31 สิงหาคม 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 12:00 สถานการณ์น้ำท่วมบริเวณทางหลวงหมายเลข 1195 ระหว่าง กม.12+725 – 13+600 อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย ทางขาด การจราจรไม่สามารถสัญจรได Cr:สำนักงานทางหลวงที่4
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:00 สถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา อ.บางบาล มีน้ำล้นตลิ่งเล็กน้อย
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 30 สิงหาคม 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 07:00 แม่น้ำโขงล้นตลิ่ง 37 cm ที่สถานีวัดระดับน้ำหนองคาย แนวโน้มลดลง
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:30
  • 05:00 สถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
https://geofon.gfz-potsdam.de/eqinfo/list.php?datemin=2024-08-29&datemax=2024-08-29&latmin=&latmax=&lonmin=&lonmax=&magmin=&fmt=html&nmax=

รายงานภัยพิบัติ 29 สิงหาคม 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:30 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 17:15 ฝนตกหนักน้ำท่วมอำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น Cr.ขอนแก่นซิตี้
  • 10:25 เรดาร์ตรวจฝนจากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในกรุงเทพฯและปริมณฑลรวมทั้งบางจังหวัดในภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกตลอด 25 นาทีที่ผ่านมา
  • 07:30 บ้านเรือนประชาชน 254,610 หลัง ไม่มีไฟฟ้าใช้จากอิทธิพลการขึ้นฝั่งจังหวัดคาโกชิมะของไต้ฝุ่นชานชาน
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม
  • 06:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 00:30
  • 06:00 พายุไต้ฝุ่น “ชานชาน” 珊珊 Shanshan หรือพายุหมายเลข 10 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่นขึ้นฝั่งบริเวณใกล้เมืองซัตสึมะเซนได จังหวัดคาโกชิมะ
  • 06:00 สถานการณ์น้ำแม่น้ำเจ้าพระยา
  • 01:00 พายุไต้ฝุ่น “ชานชาน” 珊珊 Shanshan หรือพายุหมายเลข 10 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 85 น็อต ความกดอากาศ 957 hPa เทียบเท่าระดับ 2 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน เคลื่อนตัวเข้าประชิดฝั่งเมืองมาคุระซะกิ จังหวัดคาโกะชิมะ ในภูมิภาคคิวชูของญี่ปุ่น คาดว่าจะขึ้นฝั่งช่วงเช้าวันนี้
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 28 สิงหาคม 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 07:00 ภาพดาวเทียมแบบเคลื่อนไหวของพายุไต้ฝุ่น “ชานชาน” 珊珊 Shanshan หรือพายุหมายเลข 10 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น บริเวณหมู่เกาะอามามิ กำลังเคลื่อนไปทางคิวชู
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 02:00 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 20:00
  • 01:00 พายุไต้ฝุ่น “ชานชาน” 珊珊 Shanshan หรือพายุหมายเลข 10 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเพิ่มขึ้นเป็น 115 น็อต ความกดอากาศ 932 hPa เทียบเท่าระดับ 4 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน ยังคงเคลื่อนที่ช้าๆ พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 29.0°N 130.1°E บริเวณหมู่เกาะอามามิ แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งภูมิภาคคิวชูของญี่ปุ่นในวันที่ 29-30 ส.ค. นี้
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงานภัยพิบัติ 27 สิงหาคม 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:30  เรดาร์ฝน TMD พิษณุโลก (แบบเคลื่อนไหว) แสดงกลุ่มฝนที่ตกในภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน ในช่วง 1 ชั่วโมง 15 นาที ที่ผ่านมา (เวลาในภาพเป็นเวลา UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
  • 21:30 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลังตั้งแต่ 15:45
  • 13:02 แผ่นดินไหวขนาด 4.8 (mb) ลึก 78 กม.พิกัด 69.01°W 22.52°S แคว้นอันโตฟากัสตา ประเทศชิลี
  • 07:00 พายุไต้ฝุ่น “ชานชาน” 珊珊 Shanshan หรือพายุหมายเลข 10 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเพิ่มขึ้นเป็น 105 น็อต ความกดอากาศ 943 hPa เทียบเท่าระดับ 3 ตามมาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน พิกัดล่าสุดอยู่ที่ 28.2°N 130.8°E แนวโน้มเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งภูมิภาคคิวชูของญี่ปุ่นในวันที่ 29 ส.ค.นี้
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในกรุงเทพฯย้อนหลัง 24 ชั่วโมงจากศูนย์ป้องกันน้ำท่วม กทม
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณฝนในประเทศไทยย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้) จากกรมอุตุฯ
  • 06:00 ฝนตกตลอดคืน น้ำป่าไหลเข้าท่วม พื้นที่บ้านงิ้ว หมู่ที่ 9 ตำบลเชียงกลาง อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
  • 02:45 เรดาร์แบบรวมทั่วประเทศของกรมอุตุย้อนหลัง 6 ชั่วโมง หรือตั้งแต่ 20:45
  • 01:00 แผนที่อากาศจาก JMA
  • จำนวน พิกัดตำแหน่ง ขนาด และหมายเลข ของจุดมืด ซึ่งเป็นจุดปฏิกิริยาบนดวงอาทิตย์วันนี้

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อนกิ่วลม จ.ลำปาง กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์เรื่องของเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว โดยแยกสีเป็นแดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)