รายงาน​ภัยพิบัติ​ 6 ธันวาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 01:00​ พายุ​ดีเปรสชัน​ 03P ที่ก่อตัว​ขึ้น​ใหม่​ในมหาสมุทร​แปซิฟิก​ทางใต้ของ​หมู่เกาะ​โซโลมอน​ ทวี​กำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​โซน​ร้อน​ ได้ชื่อ​เรียกว่า​ “Jasper” แนวโน้ม​ทวี​กำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ไซโคลน​ เคลื่อนตัว​ลงทางทิศตะวันตก​เฉียง​ใต้​มุ่งไปทางออสเตรเลีย​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 5 ธันวาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:45 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.8 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 94.05°E 9.34°N หมู่เกาะ​นิโคบาร์​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 17:50 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25 นาที​ที่ผ่านมา
  • 08:00 สภาพน้ำท่วม​สนามบินเจนไน รัฐทมิฬนาฑู ของ​อินเดีย​ ​หลังถูกถล่มด้วยฝนหนัก​จากการขึ้นฝั่ง​ของพายุ​ไซโคลน​ ​ “มีชอง” မိကျောင်း Michaung
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 01:00 พายุ​ไซโคลน​ ​ “มีชอง” မိကျောင်း Michaung ขึ้น​ฝั่ง​ที่เมืองเนลลอร์ รัฐอานธรประเทศของอินเดีย ด้วย​ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​ 60 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 988 hPa​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 4 ธันวาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00​ สภาพ​น้ำท่วม​ในเมืองเจนไน รัฐทมิฬนาฑู ของ​อินเดีย​ จากฝนหนักเพราะอิทธิพล​พายุ​ไซโคลน​​ “มีชอง” မိကျောင်း Michaung เครดิตภาพ​ Kumbakonam Ooru
  • 13:00 พายุ​โซน​ร้อน​ ​ “มีชอง” မိကျောင်း Michaung ในอ่าวเบงกอล​ ทวีกำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ไซโคลน​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​  55 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 991 hPa​ พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 13.4°N 81.1°E แนวโน้ม​เคลื่อนตัว​ขึ้นฝั่ง​อินเดีย​
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 02:49 แผ่นดินไหว​ดับเบิลช็อก​ ขนาด​ 6.8 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 126.75°E 8.92°N ในทะเลใกล้​เกาะมิ​นดา​เนา​ ประเทศ​ฟิลิปปินส์
  • 00:20 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25 นาที​ที่ผ่านมา

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
https://geofon.gfz-potsdam.de/eqinfo/list.php?datemin=2023-12-03&datemax=2023-12-03&latmin=&latmax=&lonmin=&lonmax=&magmin=&fmt=html&nmax=

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 3 ธันวาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00​ เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25 นาที​ที่ผ่านมา
  • 18:00​ กรมอุตุฯ​ญี่ปุ่น​หรือ​ JMA​ แสดงภาพให้เห็นว่ามีการตรวจพบคลื่นสึนามิขณาด 20 เซนติเมตร ( แท่งสีเหลืองในภาพ)​ และขนาด 10 เซ็นติเมตร​ ( แท่งสีฟ้าในภาพ)​  บริเวณใดบ้าง เมื่อเวลา ตี 2 เศษ ตามเวลาในประเทศไทย​
  • 14:54 ภูเขาไฟเมราปี ประเทศ​อินโดนีเซีย​ เกิดปะทุ​เขม่า​ ยังไม่​มีรายงาน​ความเสียหาย​
  • 13:00 หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​กำลัง​แรง​ 95B ในอ่าวเบงกอล ค่าค​วามกดอากาศ​ 1002  hPa​  (เคยถล่ม​ภาคใต้​เราในชื่อ 99W)​ ทวีกำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ดีเปรสชัน​ 08B ต่อเนื่อง​เป็น​พายุ​โซน​ร้อน​ ความเร็วลม​ใกล้ศูนย์ก​ลางพายุ 35​ น็อต​ ได้ชื่อ​เรียกว่า​ “มีชอง” မိကျောင်း Michaung ตั้งโดยประเทศ​พม่า​ หมายถึง​จระเข้  แนวโน้ม​เคลื่อนตัว​ขึ้นฝั่ง​อินเดีย
  • 07:00 กรมอุตุฯ​ญี่ปุ่น​หรือ JMA​ ยกเลิกคำเตือนสึนามิจาก​แผ่นดินไหว​ใน​ทะเล​ฟิลิปปินส์​ แต่ยังคงคำสั่งสังเกตการณ์​เอาไว้อีกระยะ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 01:00​ ไม่พบการ​ก่อ​ตัวใหม่​ของ​พายุ​หมุน​เขตร้อน​ทุก​ชนิดใ​นทุก​มหาสมุทร​ทั่วโลกเวลานี้​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:55 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 2 ธันวาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:50 ตามที่เกิดแผ่นดินไหว​ใหญ่​ในทะเลฟิลิปปินส์ ​JMA​ ประกาศ​เตือน​สึนามิ​ขนาด 1 เมตร ตามแนวชายฝั่งญี่ปุ่น​ (สีเหลือง​ในแผนที่)​ และขนาด 20 ซ.ม. (สีฟ้าในแผนที่)
  • 21:44 PTWC​ ออกเอกสาร​ฉบับ​ที่​ 1 ให้ระวังคลื่นสึนามิ​ที่จะมาถึงตามแนวชายฝั่ง​รัศมี​ 1000 กิโลเมตร​รอบจุดศูนย์กลาง​แผ่นดินไหว อันประกอบด้วย​ชายฝั่งของแผ่นดินและเกาะต่างๆของฟิลิปปินส์​และอินโดนีเซีย​
  • 21:40 ทุ่นสึนามิ​หมายเลข​ 52401 ตรวจจับความผิด​ปกติ​ของ​ระดับ​น้ำทะเล​ได้ 6 ซ.ม.
  • 21:37 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 7.5 (Mw) ลึก​ 40​ กม.พิกัด 126.39°E 8.59°N ในทะเลใกล้​เกาะ​มิ​นดา​เนา​ ประเทศ​ฟิลิปปินส์
  • 20:42 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 (mb) ลึก​ 109​ กม.พิกัด 102.09°E 3.48°S ใน​จังหวัด​เบงกู​ลู​ บนเกาะ​สุมาตรา​ ประเทศ​อินโดนีเซีย
  • 16:31 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.4 (mb) ลึก​ 65 ​ กม.พิกัด 70.35°W 24.50°S แคว้นอันโตฟากัสตา ประเทศ​ชิลี
  • 14:55 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.9 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 69.13°W 19.21°S แคว้นตาราปากา ประเทศ​ชิลี
  • 14:05 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.4 (mb) ลึก​ 82 ​ กม.พิกัด 69.24°W 18.61°N สาธารณรัฐโดมินิกัน
  • 13:00​ หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​กำลัง​แรง​ 95B ในอ่าวเบงกอล​ มี​พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 10.6°N 84.1°E ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 55 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 1004 hPa​ แนวโน้ม​เคลื่อนตัว​ขึ้น​ฝั่ง​ประเทศ​อินเดีย
  • 10:35 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.8 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 90.94°E 23.12°N บังคลาเทศ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 01:40 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 00:36 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.2 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 98.17°E 24.30°N เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง มณฑลยูนนาน ประเทศ​จีน​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 1​ ธันวาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:55 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.3 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 97.11°E 39.24°N มณฑลกานซู่ ประเทศ​จีน
  • 07:21 CME​ จากการปะทุบนดวงอาทิตย์เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายนเดินทางมาชนกับสนามแม่เหล็กโลกแล้ว ส่งผลให้เกิดพายุแม่เหล็กวัดค่าได้ที่ kp index=4 ไม่มีผลกระทบร้ายแรงนอกจากเกิดแสงเหนือ ในบริเวณเส้นละติจูดสูง
  • 07:18 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.5 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 37.68°E 38.44°N ประเทศ​ตุรกี
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 01:00​ หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 95B ในอ่าวเบงกอล​ เคลื่อนตัว​ไปที่พิกัด​ 8.7°N 86.5°E ทางตะวันออก​ของ​ศรีลังกา​ ความ​เร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 20​ น็อต​ ความกด​อากาศ​ 1008 hPa​ แนวโน้ม​เคลื่อนตัวไปประชิดชายฝั่งตะวันออก​ของ​อินเดีย​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 30 พฤศจิกายน​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:30​ เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 00​:30​ (เรดาร์​ภาค​ตะวันออก​ใช้งาน​ไม่ได้)
  • ​01:00 หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 99W ที่ก่อฝนในไทย มาเลเซีย​และ​สิงคโปร์​ เมื่อสัปดาห์​ก่อนเคลื่อนตัว​เข้าอ่าวเบงกอล​ เปลี่ยน​ชื่อ​เป็น​ 95B พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 7.0°N 90.2°E ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 20 น็อต ความกด​อากาศ​ 1008 hPa​ แนวโน้ม​ทวี​กำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​หมุน​เขตร้อน​ทิศทาง​มุ่งไปอินเดีย​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)
https://geofon.gfz-potsdam.de/eqinfo/list.php?datemin=2023-11-29&datemax=2023-11-29&latmin=&latmax=&lonmin=&lonmax=&magmin=&fmt=html&nmax=

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 29 พฤศจิกายน​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:15 เรดาร์​ตรวจอากาศ​ระดับ​ตำบล​ จ.พัทลุง ของ​ ​TMD​ ​​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 18:45 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 15:12 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 (mb) ลึก​ 24 ​ กม.พิกัด 95.26°E 12.16°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:45 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 00​:45
  • 02:50 เกิดการปะทุขนาด M9.8 จากบริเวณ​จุดมืด​หมายเลข​ 3500 ​ ส่งผลให้เกิดคลื่นรบกวนวิทยุช่วง​ความถี่​ ~20 MHz ในแปซิฟิก​ใต้ นอกจากนี้ยังพบ CME​ ในทิศทางของโลก คาดว่าจะเข้ากระทบสนามแม่เหล็ก​ในวันที่ 1 ธ.ค. แต่ไม่ส่งผลใดนอกจากเกิดแสงเหนือ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 28 พฤศจิกายน​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 15:00 สภาพ​น้ำท่วม​จาก​ฝนตก​หนัก​ใน​เขต​จูร่ง​เวสต์​ ประเทศ​สิงคโปร์​
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:30​ เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 00​:30​ (เรดาร์​ภาค​ตะวันออก​ใช้งาน​ไม่ได้)
  • 05:15 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.1 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 88.06°E 28.34°N เขต​ปกครอง​ตนเอง​ทิเบต
  • 04:46 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 6.5 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 144.13°E 3.57°S ในทะเล​ใกล้​ชายฝั่ง​ทางเหนือ​ของ​เกาะ​นิวกินี​ ประเทศ​ปาปัว​นิ​วกินี
  • 01:00​ หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 99W เคลื่อนตัว​ไปที่พิกัด​ 7.9°N 93.5°E หมู่เกาะ​นิโคบาร์​ มหาสมุทร​อินเดีย​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 15 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 1009 hPa​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 27 พฤศจิกายน​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 13:22 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.4 (mb) ลึก​ 10​ กม.พิกัด 83.76°E 54.66°N เขต​ไซบีเรีย​ ประเทศ​รัสเซีย
  • 13:00​ เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 01:00​ หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 99W เคลื่อนตัว​มา​อยู่​ที่​พิกัด​ 7.7°N 97.4°E ใน​ทะเล​อันดามัน​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 15​ น็อต​ ความกด​อากาศ​ 1009 hPa​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)