รายงาน​ภัยพิบัติ​ 16 กุมภาพันธ์​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 13:53 เกิดการ​ปะทุ​ขนาด X2.5 จากจุดมืดหมายเลข AR3576 บนดวงอาทิตย์ ส่งผลให้เกิดการเหนี่ยวนำ​กระแสโปรตอนพุ่งสูง​ถึง 50 MeV​ ที่อาจส่งผล​กระทบ​ต่อ​การ​ทำงาน​ของ​ดาวเทียม​บางดวง
  • 07​:00​ เปรียบเทียบ​อุณหภูมิต่ำสุดในจังหวัดต่างๆของภาคเหนือ​เช้านี้และเช้าวานนี้ ที่มาจากกรมอุตุ
  • 01:43 ข้อมูล​จากดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี โดย GISTDA​ แสดงตำแหน่ง​จุดความร้อน​ในประเทศ​ไทยและประเทศ​เพื่อนบ้าน​ล่าสุด​​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 1 มกราคม​ 2567

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 ยอดผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหว7.6 ที่ จ.อิชิคาวะของญี่ปุ่น  อยู่ที่ 238 ราย ในจำนวนดังกล่าว มีผู้เสียชีวิต 32 ราย จากอาการไฮโปเธอร์เมีย จากสภาพอากาศหนาวเย็น โชคดีที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ชิกะของโฮคุริกุ ศึ่งอยู่​ใกล้ที่สุด หยุดเตาปฏิกรณ์​ทั้ง 2 เครื่อง​เพื่อตรวจสอบตามขั้นตอน​ประจำปี
  • 14:56 อาฟเตอร์ช็อกขนาด​ 5.7 ลึก​ 20​ กม.พิกัด 37.3N 136.9E อำเภอโฮซุ จังหวัดอิชิกาวะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 5​- ตามมาตรา​ชิ​นโ​ดะ
  • 14:22 JMA หรืออุตุนิยมญี่ปุ่น ออกคำเตือน คลื่นสึนามิ มีความสุง มากกว่า 3 เมตร(สีม่วง)​ ระดับ 3 เมตร (สีแดง)​ ระดับ 1 เมตร (สีเหลือง)​ ตลอดแนวชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น​ จากแผ่นดินไหว​ 7.6 ในจังหวัดอิชิกาวะ
  • 14:18 อาฟเตอร์ช็อก​ขนาด 6.1 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 37.2N136.9E อำเภอโฮซุ จังหวัดอิชิกาวะ คาบสมุทร​โนโตะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 5​+ ตามมาตรา​ชิ​นโ​ดะ
  • 14:10 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 7.6 MJMA ตื้นมาก พิกัด 37.5N137.2E เมืองชิกะ (Shika)​ จังหวัดอิชิกะวะ คาบสมุทร​โนโตะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 7 ตามม​าตราชินโดะ
  • 14:06 แผ่นดินไหว​ฟอร์ช็อคขนาด​ 5.7 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 37.5N137.3E จังหวัดอิชิกะวะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 5+ ตามมาตรา​ชิ​นโ​ดะ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 04:55 เกิดการปะทุด้วยความรุนแรง​ระดับ​ X5 จากจุดมืดหมายเลข 3536 ที่ขอบด้านตะวันออก​ของดวงอาทิตย์​ในทิศทางที่ไม่ได้หันตรงมาทางโลกเรา ถือเป็นการปะทุครั้งรุนแรงที่สุดในวัฎจักร​สุริยะ​ที่ 25 คือคาบเวลาที่เราอยู่นี้

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 29 พฤศจิกายน​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:15 เรดาร์​ตรวจอากาศ​ระดับ​ตำบล​ จ.พัทลุง ของ​ ​TMD​ ​​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 18:45 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 15:12 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 (mb) ลึก​ 24 ​ กม.พิกัด 95.26°E 12.16°N หมู่เกาะ​อันดามัน​ มหาสมุทร​อินเดีย
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:45 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือตั้งแต่​ 00​:45
  • 02:50 เกิดการปะทุขนาด M9.8 จากบริเวณ​จุดมืด​หมายเลข​ 3500 ​ ส่งผลให้เกิดคลื่นรบกวนวิทยุช่วง​ความถี่​ ~20 MHz ในแปซิฟิก​ใต้ นอกจากนี้ยังพบ CME​ ในทิศทางของโลก คาดว่าจะเข้ากระทบสนามแม่เหล็ก​ในวันที่ 1 ธ.ค. แต่ไม่ส่งผลใดนอกจากเกิดแสงเหนือ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 3​ ตุลาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:21 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.7 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 81.32°E 29.54°N ประเทศ​เนปาล
  • 16:00​ เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 15:55 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.0 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 81.29°E 29.47°N ประเทศ​เนปาล
  • 15:30 น้ำท่วมขัง อ.เมือง​ ระยอง​ จากฝนที่ตกหนักต่อเนื่องหลายชั่วโมง cr:ภาพ @yui_withyou
  • 15:15 เรดาร์​ฝน​ TMD หัวหิน ​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน จังหวัด​ต่างๆ​ที่อยู่​บริเวณ​อ่าวไทยตอนบน​ ​ตลอด​ 1 ชั่วโมง​ 15 นาที ที่ผ่านมา
  • 15:06 เรดาร์​กรมฝนหลวง​สาขาสัตหีบ​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​และ​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​เวลานี้ ​(เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก ​7​ ชั่วโมง​ให้​เป็นเวลา​ไทย)​
  • 11:55 ดวงอาทิตย์วันนี้ ลมสุริยะความเร็ว 425 กม./วินาที​ จุดมืดหรือจุดปฏิกิริยา มีจำนวนและหมายเลขแสดงตามภาพ
  • 07:00​  แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:30​ เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 00:30
  • 06:30​ ภาพ​ดาวเทียม​ล่าสุด​ของ​พายุ​ไต้ฝุ่น​ “โคอินุ” こいぬ Koinu​
  • 01:00​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 18 กรกฎ​าคม 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:30 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 13:30
  • 15:30 เรดาร์​ฝน​ TMD ขอนแก่น​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ ช่วง 1 ชั่วโมง​15 นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 07:18 เกิดการปะทุขนาด M6​ จากจุดมืดหมายเลข​ AR3363​ ที่ขอบตะวันตกเฉียงใต้​ของดวงอาทิตย์​ในทิศทางที่ไม่หันมาทางโลก​
  • 07:00 ไต้ฝุ่น​ “ตาลิม” Talim​ เคลื่อนตัว​ลงอ่าวตังเกี๋ย​ แล้วขึ้นฝั่ง​ครั้งที่​ 2 บริเวณ​เมืองชินโจว เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง อ่อนกำลัง​ลง​เป็น​พายุ​โซน​ร้อน​ ความเร็วลม​ใกล้ศูนย์ก​ลางพายุ​ลดลงเหลือ​ 60 น็อต​ เคลื่อนตัวต่อไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 04:45 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 22:45

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 12 กรกฎ​าคม 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 07:00​ หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 95W ในทะเล​ฟิลิปปินส์​ ยังมความเร็ว​ลม​คงที่ พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 14.4°N 125.9°E​ แทบไม่เคลื่อนตัว
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 01:08 เกิดการปะทุขนาด M6 ที่จุดมืดบริเวณ​ขอบด้านตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ของดวงอาทิตย์​ ซึ่งเป็นด้านที่ไม่หันมาทางโลก ยังไม่พบว่าเกิดผลกระทบ​ใด​ๆ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 5 กรกฎ​าคม 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00​ เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองแขม (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 20​ นาที​ที่ผ่านมา
  • 07:00 ดวงอาทิตย์ได้​เข้าสู่​ช่วงโซลาร์​ แม็กซิ​มัม​ ปริมาณ​จุดมืด​ปรากฏ​สูงสุดในรอบ 21 ปี เวลานี้ระบบเฝ้าระวังทางภูมิ​อวกาศ​หรือ SPWC กำลังจับตาดูปฏิกิริยา​ต่างๆที่มีโอกาสเกิดเพิ่มขึ้น​มากกว่าช่วงปกติเช่นการเกิดโซลาร์​แฟร์ ​พายุ​สุริยะ​ หรือการปล่อยมวล CME เป็น​ต้น
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 01:00 ยังไม่​พบการ​ก่อ​ตัวใหม่​ของ​พายุ​เขตร้อน​ทุกชนิด​ในทุกมหาสมุทร​ทั่วโลก​เวลานี้​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี เขื่อน​กิ่วลม​ จ.ลำปาง​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 19 พฤษภาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 13:15​ เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ภูเก็ต​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 11:00 อุตุประกาศ​เข้าฤดู​ฝนอย่างเป็นทางการ​ 22 พ.ค.66
  • 10:10 ออสเตรเลีย​ไม่เตือน​สึนามิ​จาก​แผ่นดินไหว​ในทะเลทางตะวันออก​เฉียง​ใต้​ของหมู่เกาะ​ลอยัลตี
  • 09:57 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 7.6 ลึก​ 10​ กม.พิกัด 170.69°E 23.14°S ในทะเลทางตะวันออก​เฉียง​ใต้​ของหมู่เกาะ​ลอยัลตี
  • 07:48 เกิดการประทุระดับ M5.39 จากจุดมืดหมายเลข AR 3311 ที่ขอบตะวันออกของดวงอาทิตย์ในด้านที่ไม่หันหาโลก ไม่ส่งผลใดๆ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 01:00​ พายุไซโคลน​ FABIEN​ ในมหาสมุทร​อินเดีย​โซน​ซีกโลก​ใต้​ อ่อนกำลัง​ลง​เป็น​พายุ​โซน​ร้อน​ ความเร็วลม​ใกล้ศูนย์ก​ลางพายุ​ลดลง​เหลือ​ 45 น็อต ความกด​อากาศ​ 989 hPa​ พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 9.4°S 70.9°E แนวโน้ม​สลายตัว​

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • 06:45 กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 8 พฤษภาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00​ หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 93W​ ในทะเล​จีน​ใต้​ สลายตัว​แล้ว​​
  • 16:45​ เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 10:45​
  • 11:45 เรดาร์​ฝน​ TMD ขอนแก่น​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ ช่วง 1 ชั่วโมง​15 นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:30​ เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 00:30
  • 05:45 เรดาร์​ฝน​ TMD ขอนแก่น​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ ช่วง 1 ชั่วโมง​15 นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 05:34 เกิดการปะทุขนาด M1.5 จาก​จุดมืดหมายเลข​ AR3296​  บนดวงอาทิตย์​ ในทิศทาง​ที่หัรตรง​มายัง​โลก​ การปะทุนี้มีขนาดเล็ก อาจส่งผลให้เกิดพายุ​แม่เหล็ก​โลก​ในระดับ​ไม่เกิน​ G3
  • 01:00 หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 91B ในมหาสมุทร​อินเดีย​ เคลื่อนตัว​มา​ที่พิกัด​ 6.1°N 93.5°E ใกล้​หมู่เกาะ​นิโคบาร์​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 15 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 1005 แนวโน้ม​ทวี​กำลัง​ขึ้น เคลื่อนตัว​ไปทางทิศ​เหนือ
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 2​4 มีนาคม​ 2566​

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:00 แผนที่​จุด​ความร้อน​จากดาวเทียม​ Suomi NPP​
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 13:00 Peter Forister ​ถ่ายภาพเสาแห่ง​แสงเหนือ จากอุทยานแห่งชาติ​เชนแนนโดอา (Shenandoah)​ รัฐเวอร์จิเนีย ผลจากพาย​ุแม่เหล็ก​โลก​ระดับ G4 Impact​ credit​ : Peter Forister
  • 11:04 เกิดพายุ​แม่เหล็ก​โลก​ระดับ G4 หรือ K-index = 8 ซึ่งถือว่า​รุนแรง​ที่สุด​ใน​รอบ​ 6 ปีโดยไม่มีสาเหตุ​ที่แน่ชัด มีผู้สังเกตุ​เห็น​แสงออโรราในหลายพื้นที่ทั่วโลก โดยเฉพาะ​บริเวณเส้นละติจูดที่ต่ำกว่าที่พบได้ตามปกติ ยกตัวอย่าง​เช่นภาพที่ Peter Hill ถ่ายได้จากเซาท์​ดาโกตา
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 00:30
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)