เหตุการณ์วันนี้
- 23:00 ฝนตก กทม.พื้นที่ฝั่งพระนครชั้นใน แนวริมแม่น้ำ พื้นที่ฝั่งธนบุรี ต่อเนื่อง จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรสาคร อ่าวไทย จ.นนทบุรี
- 22:12 ฝนตก กทม. เขตบางขุนเทียน หนองจอก ลาดกระบัง ประเวศ
- 22:00 ฝนตก กทม.เขตบางขุนเทียน / ฝนเล็กน้อย-ปานกลาง เขตหนองจอก ลาดกระบัง ประเวศ ต่อเนื่อง จ.สมุทรปราการ อ่าวไทย เคลื่อนทิศตะวันตก
- 20:00 ฝนตก กทม.แนวริมแม่น้ำ พื้นที่ฝั่งธนบุรี อ.ปากเกร็ด อ.เมืองนนทบุรี อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ อ.พระประแดง อ.พระสมุทรเจดีย์
- 19:45 ฝนตก กทม.เขดดอนเมือง หลักสี่ จตุจักร บางซื่อ พญาไท แนวริมแม่น้ำ พื้นที่พระนครชั้นในต่อเนื่อง จ.สมุทรปราการ เคลื่อนทิศตะวันตก
- 19:30 ฝนตก กทม.เขตสายไหม บางเขน ลาดพร้าว บึงกุ่ม คันนายาว คลองสามวา มีนบุรี ลาดกระบัง สะพานสูง วังทองหลาง ห้วยขวาง
- 19:00 ฝนตก กทม.เขตห้วยขวาง พระโขนง วัฒนา สวนหลวง และฝนเล็กน้อย-ปานกลางเขตคลองสามวา มีนบุรี ลาดกระบัง หนองจอก
- 18:45 ฝนตก กทม.เขตวังทองหลาง สวนหลวง ประเวศ
- 18:25 ฝนตก กทม.เขตลาดกระบัง
- 17:00 ฝนตก อ.บางใหญ่ อ.องครักษ์
- 13:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 91W บริเวณเกาะกวมสลายตัวไปแล้ว
- 12:30 JTWC ยกระดับหย่อมความกดอากาศต่ำ 90B ในมหาสมุทรอินเดียเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง คาดว่าจะทวีกำลังเป็นดีเปรสชัน ต่อด้วยพายุโซนร้อนและอาจถึงขั้นไซโคลน เคลื่อนไปทางประเทศอินเดีย
- 07:00 กทม 26°C เชียงใหม่ 22°C ลำปาง 22°C ชลบุรี 27°C เลย 22°C ลพบุรี 26°C อุดร 24°C สกลฯ 23°C สุพรรณ 26°C
- 07:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 99W บริเวณเกาะกวมกลายเป็นดีเปรสชันลูกใหม่แล้วในเวลานี้ ตามหลังดีเปรสชันที่เกิดจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 90W วานนี้
- 06:00 อุณหภูมิดอยอินทนนท์เวลานี้ via @mike_cmnews
- 02:03 แผ่นดินไหวแมกนิจูด 5.8 ลึก 10 กม. พิกัด 148.62°E 6.14°S ในทะเลใกล้หมู่เกาะนิวบริเต็น
- แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม
แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ
- กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี UTTA เขื่อนสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ์ ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
- กราฟแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT จ.เชียงใหม่ ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
สรุปรายการแผ่นดินไหวจาก Geogon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้
มีโอกาสที่พายุดีเพรสชั่น2ลูกจะรวมตัวกันไหมครับ
อันนั้นเรียกว่า ปรากฏการณ์ ฟูจิวารา Fujiwhara effect จะมีโอกาสเกิดก็ต่อเมื่อศูนย์กลางพายุหมุนเขตร้อนเข้าใกล้กันเกินระยะ 1,400 กิโลเมตรครับ