รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 13 มกราคม 2558

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 กทม 22°C หาดใหญ่ 25°C ภูเก็ต 26°C เชียงใหม่ 17°C ขอนแก่น 17°C ลำปาง 17°C เชียงราย 10°C
  • 22:30 เกิดหมอกหนา ปกคลุมทั่วซานฟรานซิสโก เมื่อไม่กี่ ชม ที่ผ่านมานี้(ช่วงเช้า ตามเวลาท้องถิ่น) ภาพโดย @faisalb จากบนเครื่องบิน
    B7PdqCXCMAAryn5
  • 22:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 93W ก่อตัวเป็นพายุดีเปรสชันลูกแรกของปีนี้บริเวณทางใต้ของเกาะกวม ทิศทางพายุเคลื่อนตะวันตกมาทางฟิลิปปินส์ พายุนี้เมื่อกลายเป็นพายุโซนร้อนจะได้ชื่อเรียกว่า เมขลา  Mekkhala และทางฟิลิปปินส์จะเรียกพายุลูกนี้ว่า อามัง Amang01W-20150113-2200
  • 11:58 เกิดการปะทุครั้งที่ 2 ขนาด M4.9 บริเวณจุดดับหมายเลข 2257 บนดวงอาทิตย์ (เรื่องปกติ หลายๆวันเกิดที กรุณาอย่าเอาไปผสมเป็นข่าวร้ายใดๆ) ภาพนี้ถ่ายในย่านแสง 131 อังสตอมB7NLFxFIgAExfJg
  • 11:24 เกิดการปะทุขนาด M5.6 จากบริเวณจุดดับ 2257 บนดวงอาทิตย์ ภาพนี้ถ่ายในย่านแสง 171 อังสตอมB7Qd317CIAAqmXS
  • 08:00 พายุไซโคลน Bansi ทวีกำลังจากระดับ 3 เป็นระดับ 4 กำลังจะเคลื่อนผ่านทางเหนือของสาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) ในมหาสมุทรอินเดียใต้ใกล้มาดาร์กัสกา และมีแนวโน้มจะกลายเป็นซุปเปอร์ไซโคลน หรือ พายุไซโคลนระดับ 5 ลูกแรกของปีนี้ 05S-20150113-0700
  • 07:00 กทม 22°C ภูเก็ต 26°C หาดใหญ่ 24°C ประจวบ 23°C ปัตตานี 23°C ระยอง 22°C ปราจีณฯ 22°C ระนอง 25°C ชัยภูมิ 18°C เชียงใหม่ 14°C หนองคาย 14°C ขอนแก่น 13°C แม่ฮ่องสอน 12°C ลำปาง 11°C สกลฯ 11°C เชียงราย 9°C น่าน 9°C พะเยา 9°C
  • 06:50 สุราษฎ์ ฝนตก

[stextbox id=”grey”]อากาศหนาวในไทยเกิดจากความกดอากาศสูงจากจีนที่แผ่ลงมา เพราะยังไม่หมดฤดูหนาว ไม่เกี่ยวกับรังสีดวงอาทิตย์ หรือดาวหาง ระวัง อย่าแชร์ข่าวผิดๆจาก LINE[/stextbox]

  • ดาวหางสีเขียว เลิฟจอย (ลูกศรชี้) ถ่ายโดยกล้องมุมกว้าง ฝีมือ David Williams.B7MRVKOCYAEbbxq
  • NOAA ใช้ภาพอาทิตย์ทรงกลด 9 วงซ้อนที่ โจชัว โทมัส ถ่ายได้จากบริเวณเรด ริเวอร์ นิวเม็กซิโก 9 ม.ค.58 เพื่ออธิบายชื่อของวงแสงต่างๆ B7MrIevIUAISQG-
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.0 เป็นต้นไปจาก EMSC (วัดขนาดต่ำกว่า 4.0 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *