เหตุการณ์วันนี้
- 21:00 แบบพยากรณ์อากาศของ NOAA หลัง 15 พ.ค. จะเข้าสู่ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิค จะเริ่มมีการก่อตัวของพายุแถบฟิลิปปินส์
- 11:30 ฝนตก ทวีวัฒนา ตลิ่งชัน บ่างพลัด บางซื่อ จตุจักร ตอนบนเขตดุสิต สายไหม คลองสามวา ลำลูกกา
- 08:00 ฝนตกบางส่วนของเขตวังทองหลาง สวนหลวง บางกะปิ บางเขน
- 06:30 พบการก่อตัวของพายุโซนร้อน 24S ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 40 น็อต เคลื่อนไปทางตะวันตกและทาง JTWC ยังจับตาดูหย่อมความกดอากาศต่ำเกิดใหม่ในมหาสมุทรอินเดีย หย่อมความกดนี้จะมีผลต่อประเทศในแถบนี้เนื่องจากอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ไม่เหมือน 24S ที่จะมีผลต่อประเทศในซีกโลกใต้ (พายุจะไม่ข้ามเส้นแบ่งละติจูด 0 องศา)
- 06:01 ภัยแล้ง- ระดับน้ำในเขื่อนเจ้าพระยาเช้านี้ ยังต่ำสุดไม้วัด
- 05:30 ฝนตกเขตจตุจักร ดินแดง ห้วยขวาง วังทองหลาง สวนหลวง พระโขนง ลาดพร้าว บางกะปิ บางคอแหลม สาทร ดูภาพเรดาร์
- 04:30 หย่อมความกดอากาศต่า 92B ในอันดามันทวีกำลังขึ้นเป็นหย่อมความกดอากาศต้ำกำลังปานกลาง
- ฝนตกหนัก ถล่ม จ.กระบี่ จนน้ำระบายไม่ทัน ทำให้ท่วม ถ.เพชรเกษมช่วงกระบี่-เหนือคลอง 3 จุด สูงกว่า 30 ซม.และยังไหลเข้าท่วมบ้านเรือนเสียหายเกือบ 30 หลัง รถจมน้ำเสียหาย 3 คัน
- ยอดตาย H7N9 ในจีน ล่าสุด 32 ราย
- ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ ตีสี่ / เจ็ดโมงเช้า
- แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม
- กล้อง AWS14 ของ ทร. พังเป็นวันที่ 2
[stextbox id=”info”]ฝนกระจาย หมายถึง มีฝนตกตั้งแต่ 40% ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 60% ของพื้นที่[/stextbox]
แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )
- 19:38 เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 2.6 ไม่ทราบความลึก ในประเทศพม่า (19.88,97.81)
- 07:38 แผ่นดินไหว ขนาด 4.6 ไม่ทราบความลึก ในประเทศพม่า (22.52,96.23) – อันนี้น่าจะผิด เพราะถ้าแรงกว่า 4.5 เครือข่ายนานาชาติต้องจับสัญญาณได้และรายงานด้วย
- คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)
- เมื่อ 23.24 ตามเวลาไทย เกิดอาฟเตอร์ช็อคขนาด 4.5 บริเวณ ประเทศอิหร่าน-ประเทศปากีสถาน (ตรงรอยต่อ) ที่ความลึก 11.50 กม.
- เมื่อ 23.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 45.60 กม.
- เมื่อ 21.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่กาะแซนวิซ ที่ความลึก 10.00 กม.
- เมื่อ 21.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 9.00 กม.
- เมื่อ 20.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 3.00 กม.
- เมื่อ 18.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ จังหวัดปาปัว ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 29.90 กม.
- เมื่อ 15.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Saint Thomas U.S. หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 96.00 กม.
- เมื่อ 15.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 14.00 กม.
- เมื่อ 15.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 25.70 กม.
- เมื่อ 14.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ เกาะฮัลมาเฮรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 130.50 กม.
- เมื่อ 12.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ นอกชายฝั่ง Chiapas ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 35.10 กม.
- เมื่อ 07.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ หมู่เกาะมาเรียนา ที่ความลึก 308.70 กม.
- เมื่อ 04.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 15.90 กม.
- เมื่อ 03.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 71.30 กม.
จากข้อมูลหน้าเว็บบอกว่า พายุจะไม่ข้ามเส้นละติจูด 0 องศา หมายความว่า พายุที่ก่อตัวขึ้น เหนือเส้นหรือใต้เส้นละติจูด 0 องศา จะไม่ข้ามเส้นละติจูด 0 องศา เป็นอย่างนั้นหรือเปล่าครับช่วยอธิบายให้ละเอียดตามหลักวิทยาศาสตร์หน่อยได้ไหมครับว่าทำไมมันถึงข้ามเส้นไม่ได้ แล้วเคยมีพายุลูกไหนฉีกกฎนี้ไหม ขอบคุณครับ
กระแสอากาศที่เส้น 0 องศาแยกลมในซีกโลกเหนือใต้ออกจากกัน และมีแรงคอริโอลิส คอยกำกับ ดูภาพพายุที่เกิดมา 60 กว่าปี http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/6f/Tropical_cyclones_1945_2006_wikicolor.png/800px-Tropical_cyclones_1945_2006_wikicolor.png