[stextbox id=”black”]พายุไห่เยี่ยน ไม่เคยมาไทย อย่าเชื่อสื่อมั่ว ที่หลอกลวงท่าน[/stextbox]
เหตุการณ์วันนี้
- 16:05 แผ่นดินไหวขนาด 7.8 ลึก 10 กม บริเวณ ทะเลสคอเทีย ไม่มีการเตือนสึนามิ เนื่องจากแนวการเคลื่อนตัว เป็นแบบแนวนอน [USGS]
- 15:12 หย่อมความกดอากาศต่ำที่หลงเหลือจากดีเปรสชันพอดึล ยังปกคลุมภาคใต้ตอนบน
- 14:00 ศพจากพายุไห่เยี่ยนไม่สามารถจัดการได้ทัน ทางการฟิลิปปินส์ต้องฝังรวมในหลุมใหญ่
- 13:00 ภาพดาวเทียมจาก JTWC พายุทุกลูกรอบบ้านเรา สลายตัวหมดแล้ว
- 06:00 ฝนหนักตั้งแต่วันพุธที่ผ่านมา ทำให้เกิดน้ำท่วมในกรุงริยาร์ด และอีกหลายเมืองในซาอุดิอาระเบีย (ถนนบางสายไม่มีท่อระบายน้ำ) เครดิตภาพจาก rt.com
- 05:00 ตำแหน่งดาวหางทั้ง 4 ดวงที่นะปรากฏก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น ทางขอบฟ้าทิศตะวันออก เช้านี้
- 03:00 ดาวหาง ISON ขณะนี้มีความสว่างแมกนิจูด +5.5 และมีหางที่ยาวมาก ยาวถึง 8 ล้านกิโลเมตร หรือ 21 เท่าของระยะห่างระหว่างโลกถึงดวงจันทร์
- ผู้ประสบภัยในฟิลิปปินส์ยังหิวโหย ต่างกรูเข้ารับอาหารจาก ฮ. กู้ภัย
- แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง / เจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมง / หนึ่งทุ่ม
แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )
- คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้
แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)
- อาฟเตอร์ช็อค ขนาด 5.0 บริเวณ Scotia Sea เมื่อเวลา 17.59 (ไทย) ที่ความลึก 10 กม. วัดค่าแบบ M
- อาฟเตอร์ช็อคขนาด 5.2 บริเวณ Scotia Sea เมื่อเวลา 17.44 (ไทย) ที่ความลึก 10 กม. วัดค่าแบบ A
- อาฟเตอร์ช็อคขนาด 5.1 บริเวณ Scotia Sea เมื่อเวลา 16.57 (ไทย) ที่ความลึก 15 กม. วัดค่าแบบ A
- แผ่นดินไหวขนาด 7.4 บริเวณ Scotia Sea เมื่อเวลา 16.04 (ไทย) ที่ความลึก 10 กม. วัดค่าแบบ M แผ่นดินไหวแบบนี้จะไม่มีสึนามิ เพราะเปลือกโลกเคลื่อนในแนวนอน ตามรูปจะเห็น focal mechanism หรือลูกบาลชายหาดแสดงการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
- แผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางใต้ของ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อเวลา 09.42 (ไทย) ที่ความลึก 56 กม. วัดค่าแบบ M
- แผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะคุริว เมื่อเวลา 03.28 (ไทย) ที่ความลึก 117 กม. วัดค่าแบบ M
- แผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเวลา 00.00 (ไทย) ที่ความลึก 56 กม. วัดค่าแบบ M