รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 6 มิถุนายน 2556

เหตุการณ์วันนี้

[stextbox id=”info”]ทอร์นาโด เอล เรโน โอคลาโอมา ที่เกิด 31 พ.ค. 56 ได้รับการยืนยันว่าเป็นทอร์นาโดลูกใหญ่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐฯ ดูคลิป[/stextbox]

  • 23:45 ฝนตกเขตหนองแขม บางแค บางบอน บางขุนเทียน ภาษีเจริญ จอมทอง ทุ่งครุ  พระประแดง บางนา พระโขนง ดอนเมือง
  • 21:00 โมเดลเส้นทางพายุแอนเดรียเริ่มเป็นไปในทางเดียวกันทุกสำนัก 
  • 19:44 ฝนตก อ.เมืองเชียงราย ดอยมูเซอ จังหวัดตาก และ อ.ทอผาภูมิ กาญจนบุรี
  • 18:50  ความเร็วลมที่วัดได้จากทุ่น 42036 ซึ่งลอยอยู่ด้านหน้าทิศทางเคลื่อนตัวของพายุแอนเดียในอ่าวเม็กซิโก เริ่มทวีขึ้นถึง 44 น็อต (Gust)
  • 18:00 ความเร็วลมที่วัดได้จากทุ่น 42036 ซึ่งลอยอยู่ด้านหน้าทิศทางเคลื่อนตัวของพายุแอนเดียในอ่าวเม็กซิโก เริ่มทวีขึ้นถึง 35 น็อต (Gust) 
    ตำแหน่งของทุ่น 42036 ในอ่าวเม็กซิโก อยู่ในทางพายุพอดี 
  • 17:00 ผู้สื่อข่าวเดลินิวส์รายงานว่า วันนี้ได้เกิดฝนตกหนักในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์นานนับชั่วโมง ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมถนนหลายสาย รถสัญจรไปมาลำบาก น้ำที่ท่วมสูงยังทะลักเข้าบ้านเรือน ร้านค้าที่อยู่ริมฝั่งถนน รวมไปถึงตลาดสดเทศบาลเมืองสุรินทร์และตลาดไนท์บาร์ซ่า โดยระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 60 เซนติเมตร บางช่วงรถไม่สามารถวิ่งผ่านได้
  • 15:00 ยอดผู้เสียชีวิตจากน้ำท่วมยูโรปตอนกลางล่าสุด เพิ่มขึ้นเป็น 13 ราย แยกเป็น เยอรมนี 3 ราย, สาธารณรัฐเช็ก 8 ราย และออสเตรีย 2 ราย นอกจากนี้ยังมีรายงานผู้สูญหายอีก 2 รายในออสเตรีย
  • 13:50 กราฟความเร็วลมที่วัดได้จากทุ่นหมายเลข 42039 ที่ลอยอยู่ในอ่าวเม็กซิโก นอกแนวพายุ เริ่มแสดงระดับความเร็วลมที่สูงขึ้นจากพายุแอนเดรีย ที่ 21 น็อต
  • 13:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 98W ใกล้ฟิลิปปินส์ เริ่มเข้าสู่การจับตาดูของ JTWC 
  • 10:00 แผนภาพพยากรณ์อากาศจาก GTH ช่วงปสัปดาห์ที่ 1-2 ของเดือนมิถุนายน ตามรหัสสี คือ สีแดงหมายถึงการก่อตัวของพายุ เขียวคือฝนชุก เหลืองคือแล้ง น้ำตาลคือคลื่นร้อน น้ำเงินคือคลื่นความเย็น (สีเข้มมีผลมากกว่าสีอ่อนลาย)
  • 08:00 โมเดลเส้นทางของพายุโซนร้อนแอนเดรียที่มีความเป็นไปได้ คำนวนล่าสุดขณะนี้ (เส้นทางพายุจะต้องคำนวนใหม่ทุก 3-6 ชั่วโมง ต้องคอยติดตาม)
  • 04:00 หย่อมความกดอากาศต่ำ 91L ในอ่าวเม็กซิโก ก่อตัวเป็นดีเปรสชันแล้วพัฒนาเป็นพายุโซนร้อนลูกแรกของปีในเขตแอตแลนติค ได้ชื่อว่า  ANDREA ในอ่าวเม็กซิโก คาดว่าจะขึ้นฝั่งฟลอริดาพรุ่งนี้  
  • 03:30 พบการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำ 98W ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ ความกด 1010 mb แนวโน้มยังคงที่
  • เยอรมนี – ระดับน้ำในแม่น้ำดานูบเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเขื่อนกั้นน้ำแตกในเมืองเดกเกินดอร์ฟ ทางตอนใต้ของประเทศ เจ้าหน้าที่ต้องใช้เฮลิคอปเตอร์ช่วยเหลือประชาชนออกจากพื้นที่ และที่ในเมืองฮัลเล ประชาชนไม่ต่ำกว่า 30,000 ชีวิต ต้องอพยพออกจากบ้านเรือนของตัวเอง หลังจากระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นมากที่สุดในรอบ 400 ปี นอกจากนี้ในบางพื้นที่มีรายงานว่า เหตุการณ์น้ำท่วมครั้งนี้ นับว่าเป็นครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 10 ปี (BBC)
  • ช่วงนี้ไม่พบดาวเคราะห์น้อยดวงใหม่เลย ที่โคจรเข้ามาใกล้โลก ล้วนเป็นหน้าเก่าๆทั้งสิ้น  ถือเป็นเรื่องแปลก NEA-20130605
  • พบหลุมโคโรนาหลุมใหม่ในด้านที่หันมาหาโลกของดวงอาทิตย์ ลมสุริยะใน 2-3 วันข้างหน้าอาจมีความเร็วเพิ่มขึ้น (ภาพในย่านแสง 193 อังสตอม)coronalhole_sdo_200
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 23.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Bali Sea ที่ความลึก 494.80 กม.
  • เมื่อ 23.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 15.80 กม.
  • เมื่อ 22.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เกาะโคดิแอค อลาสกา ที่ความลึก 60.20 กม.
  • เมื่อ 21.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ New Britain ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 20.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 119.10 กม.
  • เมื่อ 20.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Andaman Islands ประเทศอินเดีย ที่ความลึก 25.80 กม.
  • เมื่อ 18.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศกรีซ ที่ความลึก 10.30 กม.
  • เมื่อ 16.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทิศเหนือของ Carolina ที่ความลึก 4.90 กม.
  • เมื่อ 15.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 36.00 กม.
  • เมื่อ 15.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ หมู่เกาะซานตาครูส ที่ความลึก 75.40 กม.
  • เมื่อ 15.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ Bougainville ประเทศปาปัวนิวกินี ที่ความลึก 80.70 กม.
  • เมื่อ 14.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ ทะเลแบนดา ที่ความลึก 33.40 กม.
  • เมื่อ 13.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่ง Valparaiso ประเทศชิลี ที่ความลึก 30.40 กม.
  • เมื่อ 13.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 83.20 กม.
  • เมื่อ 12.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 34.30 กม.
  • เมื่อ 11.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 17.40 กม.
  • เมื่อ 10.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Kepulauan Babar ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 174.50 กม.
  • เมื่อ 10.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 39.60 กม.
  • เมื่อ 09.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Mona Passage เปอร์โตริโก ที่ความลึก 23.00 กม.
  • เมื่อ 09.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางตะวันตกของ Montana ที่ความลึก 8.50 กม.
  • เมื่อ 08.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ จังหวัดซาลตา ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 179.40 กม.
  • เมื่อ 08.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 189.90 กม.
  • เมื่อ 08.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 16.00 กม.
  • เมื่อ 08.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.6 บริเวณ รัฐฮาวาย ที่ความลึก 38.30 กม.
  • เมื่อ 08.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 18.00 กม.
  • เมื่อ 06.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 22.00 กม.
  • เมื่อ 06.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 14.20 กม.
  • เมื่อ 05.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ นอกชายฝั่งของ Oregon ที่ความลึก 10.10 กม.
  • เมื่อ 05.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ Himachal Pradesh ประเทศอินเดีย ที่ความลึก 49.50 กม.
  • เมื่อ 03.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 18.00 กม.ฃ
  • เมื่อ 02.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 87.80 กม.
  • เมื่อ 02.23 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ Kalimantan ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 16.50 กม.
  • เมื่อ 01.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 12.00 กม.
  • เมื่อ 00.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ Mona Passage สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 157.00 กม.
  • เมื่อ 00.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 76.00 กม.

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *