รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556

[stextbox id=”black”]เรื่องรังสีจักวาลคอสโม จากดาวอังคาร ให้ปิดมือถือ เป็นโจ๊กตลกที่ฝรั่งอำเล่นในวันเมษาหน้าโง่ April Fools’ Day ประจำปี 2008 และเลิกเล่นกันไปนานแล้วทั่วโลก เหลือแต่เมืองไทย ที่ยังนิยมแชร์เรื่องแย่ๆนี้กันต่อไปไม่จบสิ้น[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:00 เส้นทางล่าสุดของพายุกรอซา คำนวนโดย TSR (เอเย่นต์อื่นอาจเห็นต่างไปจากนี้) พายุจะไปสลายตัวในเขตกัมพูชา 201329W_20131101-1800
  • 17:00 พบการก่อตัวใหม่ของดีเปรสชัน 18E ทางตะวันตกของเม็กซิโก และหย่อมความกดอากาศต่ำหย่อมใหม่ 98W ในทะเลฟิลิปปินส์ 
  • 13:00 TSR ปรับเส้นทางพายุกรอซาอีกครั้ง พายุจะเข้ามาสลายตัวแถวจังหวัดอุบลในอีก 96 ชม (ราววันที่ 5 พ.ย.) 
  • 06.03  แผ่นดินไหวขนาด 6.6 [USGS] บริเวณ ใกล้ชายฝั่ง ตอนกลางของ ประเทศชิลี ที่ความลึก 10 กม. ค่า PGA%g intensity อยู่ที่ MMI ระดับ VIIpga
  • 04:00 เส้นทางไต้ฝุ่นกรอซา ลาสุดจากสำนักอุตุ 6 ประเทศ มี 3 สำนักเชื่อว่าจะเข้าไทย และ JTWC ประเมินว่าพายุจะเข้ามาถึงชลบุรี krosa-20131101-0400
  • 03:30 ไต้ฝุ่นกรอซา กำลังจะออกจากฟิลิปปินส์ ลงสู่ทะเลจีนใต้
  • 02:00 พายุดีเปรสชันเรมอนด์ สลายตัวแล้ว
  • 01:30 คาดการความสว่างของดาวหางไอซอน อัพเดทล่าสุดจาก NASA สว่างได้อย่างมากก็แมกนิจูด 0 ในเดือนหน้า (ธ.ค. 56) จากนั้นก็ลดลง ison_lc_oct16_sm
  • 01:00 ตำแหน่งของดาวหางไอซอน ISON ในวันนี้ (วงกลมบน) และโลกเรา (วงกลมล่าง) ห่างจากดวงอาทิตย์พอๆกัน (0.997AU) แต่ไม่ใกล้กัน (1.23AU) เครดิตภาพจาก Nectec
  • 00:30 พายุดีเปรสชันเรมอนด์ ใกล้ประเทศเม็กซิโก อ่อนกำลังลงเรื่อยๆ กำลังจะสลายตัวในไม่กี่ชั่วโมงนี้
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 27 ตุลาคม 2556

[stextbox id=”info”]ขนาด กับ ความรุนแรง แตกต่างกันในวิชาแผ่นดินไหว ขนาด ก็เหมือนเบอร์หลอดไฟ
ความรุนแรง ก็เหมือนความสว่าง ซึ่งขึ้นกับว่าเราอยู่ห่างหลอดไฟแค่ไหน
ขนาด ของแผ่นดินไหว มีหลายมาตรา เช่น โมเมนต์,ริกเตอร์,คลื่นผิว ฯลฯ
ความรุนแรง ของแผ่นดินไหว ก็มีหลายมาตรา เช่น ชินโดะ,เมอคัลลีย์ ฯลฯ[/stextbox]

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 JMA ประกาศการก่อตัวของดีเปรสชันลูกใหม่ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ (ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางเวลานี้ 30 น็อต 
  • 18:30 ซีกโลกใต้ปรากฏพายุลูกแรกของปีหลังดวงอาทิตย์ย้ายลงใต้ พายุโซนร้อน 01S ในมหาสมุทรอินเดีย ทิศทางไปมาดากัสกา 201301S
  • 18:10 ฝนตกนครศรี หาดใหญ่ เชียงราย เชียงใหม่
  • 18:00 สำนักอวกาศอินเดีย จะส่งยานโคจรไปดาวอังคาร บรรทุกไปกับจรวด PSLV (โครงการ C25) โดยมีกำหนดการปล่อยจรวดในวันที่ 6 พ.ย. 56 นี้ เวลา 16:06 ตามเวลาในประเทศไทย หากไม่มีการเลื่อนส่ง  ซึ่งจรวดขับดันรุ่นนี้ จะมีชิ้นส่วนที่ปล่อยทิ้งจำนวน 5 ชิ้น ซึ่งจุดสุดท้ายจะอยู่ใกล้มาทางภาคใต้ ห่างจากพังงาไปทางตะวันตกราว 340 กม เรือและสายการบินโปรดระวัง (เครดิตภาพจาก GISTDA)20131026-pslv-c25
  • 17:29 ฝนยังตกต่อเนื่องแถบ อ.แม่จัน จ.เชียงราย
  • 17:00 JTWC พบการก่อตัวของหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W แนวโน้มมวีกำลังขึ้น 
  • 14:00 ยืนยันการเปล่งแสงสว่างคล้ายการระเบิดตัวเองของดาวหาง  C/2012 X1 (LINEAR) ในวันที่ 20 ต.ค. 56 ที่ผ่านมา ที่ระยะราว 450 ล้าน กม จากโลก ความสว่างของดาวหางเพิ่มจากแมกนิจูด 14 ไปที่แมกนิจูด 8.5 ในเวลานี้ (สว่างขึ้น150 เท่า วัดค่าโดยฮิเดกาตะ ซาโตะ และไซอิจิ โยชิดะ) ภาพด้านล่างนี้ถ่ายวันที่ 21 ต.ค. 56 ด้วยกล้อง 0.5 เมตรในนิวเม็กซิโก โดย Ernesto Guido, Nick Howes และ Martino Nicolini C_2012 X1_H06_21_October_2013
  • 13:00 พายุหมุนเขตร้อนทุกลูกในแปซิฟฟิคตะวันตก สลายตัวหมดแล้ว 
  • 12:00 ทุ่นสึนามิเฝ้าระวังด้านอันดามัน หมายเลข 23227 ของอินเดียกลับมาทำงานตามปกติแล้ว ของไทยก็ยังเสียต่อไป  23401-23224-20131027
  • 07:50 แม่จัน เชียงราย ฝนปรอย
  • 07:30 ขณะนี้ดาวหาง ISON อยู่ที่ระยะห่าง 1.374 AU จากโลก กำลังตรงไปหาดวงอาทิตย์ test7063
  • 06:00 เขื่อนป่าสักฯลดการระบายน้ำลงจนเกือบหมด เพื่อกักน้ำไว้ใช้หน้าแล้งปีหน้า โดยน้ำในเขื่อนยังสูงกว่าปกติถึง 123%PSKDAM-27OCT13-0600
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 01:06 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (16.16,97.77) ขนาด 3.7
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

[stextbox id=”black”]แผ่นดินไหวแมกนิจูดน้อยกว่า 3.9 เทียบได้กับระดับ II ถึงระดับ III ตามมาตราเมอร์คัลลีย์ เต็มที่แค่สะเทือนเหมือนรถบรรทุกวิ่งผ่าน ไม่ควรประโคมข่าวเป็นปัญหาใหญ่โต[/stextbox]

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 1 ตุลาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 12:00 เขื่อนป่าสักฯสามารถรับน้ำได้ 960 ล้าน ลบม หรือ 122% (ไม่รวมที่เผื่อไว้อีกหลาย %) ตามกราฟจะเห็นว่าตอนน้ำท่วมใหญ่ปี 54 (สีเขียว) เขื่อนรับน้ำสูงกว่าขณะนี้อีกมากPSKDAM-01OCT13
  • 11:30 ปริมาณน้ำอ่างขนาดใหญ่ทั่วประเทศ 33 อ่าง จาก ศูนย์ประมวลฯสชป.12 BVdxDXOCUAEjmnG
  • 11:01 ระดับน้ำที่สถานีวัด N67 ปากแม่น้ำน่าน เพิ่มสูงใกล้คอสะพาน 
  • 11:00 หวู่ติ๊บหมดสภาพเร็วกว่าที่หลายฝ่ายคาดไว้ น่าจะเพราะอากาศเย็นจากจีนที่ลงมาช่วยไว้ทัน ขณะที่ฟิโทว์ที่ฟิลิปปินส์เริ่มทวีกำลังขึ้น
  • 10:38 แผ่นดินไหวขนาด 6.5 บริเวณ Sea of Okhotsk  ที่ความลึก 573 กม.
  • 09:13 กลุ่มเมฆฝนจากพายุหวู่ติ๊บเหนือไทย หายไปแล้ว
  • 08:00 ดาวหางไอซัน เข้ามาถึงระยะดาวอังคารแล้ว (1.651AU) แต่ความสว่าง ไม่ประทับใจเหมือนที่นาซาจั่วหัวไว้ก่อนหน้านี้ test5589
  • 06:00 เขื่อป่าสักฯเพิ่มอัตราการระบายมาที่ 400 ลบม./วินาที PSK-01OCT13-0600
  • 06:00 ปริมาณน้ำในเขื่อนสำคัญทั่วไทยเวลานี้ 
  • 04:00 พายุโซนร้อนหวู่ติ๊บอยู่ที่พิกัด N18°25′ E103°10′ ในเขตลาว ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 64 กม/ชม หรือ 35 น็อต (อุตุญี่ปุ่น) JMA-WUTIP-20131001-0400JMA-WUTIP-20131001-0510
  • 03:00 ดีเปรสชัน 22W ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า ฟิโทว์
  • 01:00 พายุโซนร้อนหวู่ติ๊บอยู่ที่พิกัด 17.9,104.4 ในเขตลาว ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 65 กม/ชม (อุตุเวียดนาม)VN-WUTIP-FINAL
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้า / บ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ขนาดใหญ่กว่า M4.5 เป็นต้นไปจาก Geofon (วัดขนาดต่ำกว่า 4.5 ได้เฉพาะในบริเวณยุโรปและใกล้เคียง)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 24 กรกฎาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:30 ระดับน้ำในคลองใหญ่ตอนกลาง บ้านศรีบัวทอง อ.เขาสมิง จ.ตราด สถานี Z10 ล้นตลิ่งแล้วในเวลานี้
  • 23.25 ระดับ ถ.มหาราช เทศบาลเมืองจันท์ น้ำลดลงทีละนิด ถนนบางสายแห้งแล้ว น้ำในแม่น้ำจันท์ทรงตัว 
  • 23:00 พายุดีเปรสชัน 04N ในมหาสมุทรแอตแลนติก ยกระดับเป็นพายุโซนร้อนได้ชื่อเรียกว่า ดอเรียน Dorian กำลังเคลื่อนไปทางเหนือของเวเนซูเอลา 201304N
  • 17:07 เมืองเชียงราย ฝนตก
  • 15:30 หย่อมความกดอากาศต่ำ 98L ในมหาสมุทรแอตแลนติค ก่อตัวเป็นพายุดีเปรสชัน 04N 
  • 15:00 ระดับน้ำที่ทางเข้าตลาดน้ำพุ อ.เมือง จันทบุรี (เครดิตภาพ @eakkasit
  • 14:30 มีหย่อมความกดอากาศต่ำ 3 หย่อมเลขเดียวกันที่อยู่ในการจับตามมองของนักอุตุทั่วโลกเวลานี้ คือ 98W แถวเวียดนาม ที่ตอนนี้หายไปแล้ว 98E ทางตะวันตกของเม็กซิโก และ 98L ในแอตแลนติก โดย 2 หย่อมหลังมีโอกาสพัฒนาเป็นพายุดีเปรสชันสูงมาก
  • 14:00 จุดวัดระดับน้ำ Z57 สะพานวัดจันทนาราม อ.เมืองจันทบุรี ระดับน้ำล้นตลิ่งมากกว่า 37 cm ท่วมถนน
  • 13:30 เขตเทศบาลเมืองจันทบุรี ฝนตก | น้ำท่วมขังลดลงไปต่ำกว่าทางเดินเท้าแล้ว
  • 12:00 จุดวัดระดับน้ำ Z57 สะพานวัดจันทนาราม อ.เมืองจันทบุรี ระดับน้ำล้นตลิ่งมากกว่า 34 cm ท่วมถนน
  • 11:50 ระดับน้ำสามแยกโรงเรียนบุญสมทางไปสุขุมวิทสายใหม่ยังสูงอยู่ 
  • 10:18 ระดับน้ำในเขตเทศบาลเมืองจันท์ ย่านตลาดการค้า เริ่มลดลงแล้ว (เครดิตภาพ @Pacharapapon)
  • 10:13 ระดับน้ำบริเวณถ.เทศบาล 3 อ.เมือง จันทบุรี  (เครดิตภาพ @Pacharapapon)
  • 08:00 จุดวัดระดับน้ำ Z57 สะพานวัดจันทนาราม อ.เมืองจันทบุรี ระดับน้ำล้นตลิ่งมากกว่า 21 cm ท่วมถนน
  • 07:00 หน้าโรงเรียนเบญจมานุสรณ์  ต.ตลาด, อ.มือง จันทบุรี  (เครดิตภาพ คุณ New Newnew) 
  • 05:00 โรงเรียนที่ปิดวันที่ 24 ก.ค.56 จากน้ำท่วมใน จ.จันทบุรี
    • โรงเรียนตังเอ็ง
    • โรงเรียนเทศบาลเมืองจันทบุรี 1 และ 2
    • โรงเรียนเบญจมราชูทิศจันทบุรี
    • โรงเรียนศรียานุสรณ์ (แจ้งนักเรียนชั้น ม.1 , ม.4 , ม.5 ตารางสอบวันที่ 24 ก.ค.56 เปลี่ยนเป็นวันที่ 31 ก.ค.56 แทน )
    • โรงเรียนสฤษดิเดช
    • โรงเรียนอำนวยวิทย์
    • วิทยาลัยออมสินจันทบุรี
    • โรงเรียนอนุบาลจันทบุรี
    • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
    • มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี
    • โรงเรียนลาซาล
    • โรงเรียนอำนวยวิทย์ , โรงเรียนอำนวยวิทย์พัฒน์
    • โรงเรียนยอแซฟวิทยา อ.ท่าใหม่
    • วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
    • สถานรับเลี้ยงเด็กบ้านยอเซฟพิทักษ์
    • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดป่าคลองกุ้ง
    • วิทยาลัยสารพัดช่างจันทบุรี ปิดเรียน 3 วัน ตั้งแต่วันที่ 24-26 ก.ค. 56
    • โรงพยาบาลเมือง สาขาโรงพยาบาลพระปกเกล้า ตรงสี่แยกไฟแดงศาลากลางของดให้บริการในวันที่ 24 ก.ค 56 ตั้งแต่เวลา 8.00-12.00 น. หากเหตุการณ์เข้าสู่สภาวะปกติจะเปิดให้บริการ
    • สพป.จบ. เขต 1 เลื่อนการอบรมการใช้แท็บเล็ต ของครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จากเดิมวันที่ 24-25 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมมณีจันทร์รีสอร์ทออกไปอย่างไม่มีกำหนด
  • 04:00 ระดับน้ำในตัวเมืองตราด ลดลงสู่ภาวะปกติแล้ว แต่พื้นที่รอบนอกยังมีปัญหา
  • 01:30 จุดวัดระดับน้ำ Z57 สะพานวัดจันทนาราม อ.เมืองจันทบุรี ระดับน้ำเข้าสู่สถานการณ์วิกฤต ทางจังหวัดจันทบุรีได้ปรับเปลี่ยนธงเป็นสีแดงแล้วแล้วในขณะนี้ ส่วนในบริเวณย่านริมน้ำจันทบูร ย่านวัดโรมัน ระดับน้ำท่วมผิวจราจรแล้ว Z57-24071312.6135158327467 102.114207744598 - Google Maps
  • เยอรมนีร้อนจัด โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วประเทศ 30°C ขณะที่นครแฟรงก์เฟิร์ต โคโลญ และมิวนิก อุณหภูมิสูง 35°C ปชช.หลายคนล้มป่วย
  • NASA ปล่อยภาพดาวหาง ISON จากกล้อง Spitzer Space Telescope ของ NASA  ถ่ายเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ที่ระยะ 502 ล้าน กม. จากดวงอาทิตย์ให้ได้ชม โดยแสดงภาพเป็น 2 ช่วงคลื่นแสง ด้านซ้ายแสดงให้เห็นหางฝุ่น ซึ่งเริ่มยืดออกตามแรงของลมสุริยะ ด้านขวาแสดงให้เห็นกลุ่มแก้สที่หุ้มหัวของดาวหาง ซึ่งเป็นน้ำแข็งแห้งหรือ CO2 ที่ระเหิดออกราว 1 ล้านกิโลกรัมต่อวัน (เครดิตภาพ Credit: NASA/JPL-Caltech/JHUAPL/UCF )comet-ison-spitzer-images
  • ดาวเคราะห์น้อย 2013 NE19 ขนาดราว 93 เมตร กำลังเข้าใกล้โลกที่ระยะ 11 เท่าของระยะระหว่างโลกกับดวงจันทร์ ด้วยความเร็ว 28.57 กิโลเมตร/วินาที แรงปะทะ 123 เมกกะตัน 
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้  ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี PKDT ภูเก็ค  (CMMT เชียงใหม่เสีย ) ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 23.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 3.00 กม.
  • เมื่อ 23.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 22.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ประเทศไต้หวัน ที่ความลึก 2.50 กม.
  • เมื่อ 21.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 22.20 กม.
  • เมื่อ 21.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ประเทศไต้หวัน ที่ความลึก 6.80 กม.
  • เมื่อ 20.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 55.00 กม.
  • เมื่อ 18.52 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 18.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ Cook Strait ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ความลึก 17.60 กม.
  • เมื่อ 17.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ Michoacan ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 35.30 กม.
  • เมื่อ 11.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 13.60 กม.
  • เมื่อ 10.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 6.30 กม.
  • เมื่อ 10.32 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ ทิศใต้ของ หมู่เกาะฟิจิ ที่ความลึก 166.90 กม.
  • เมื่อ 09.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 97.00 กม.
  • เมื่อ 08.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ หมู่เกาะริวกิว ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 27.60 กม.
  • เมื่อ 07.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ประเทศวานูอาตู ที่ความลึก 35.30 กม.
  • เมื่อ 07.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 9.60 กม.
  • เมื่อ 05.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ นอกชายฝั่ง Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 33.70 กม.
  • เมื่อ 04.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ นอกชายฝั่ง Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 21.90 กม.
  • เมื่อ 04.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่ง Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 33.00 กม.
  • เมื่อ 03.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่ง Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 30.90 กม.
  • เมื่อ 02.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Kepulauan Babar ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 30.80 กม.
  • เมื่อ 01.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ รัฐเนวาดา ที่ความลึก 9.50 กม.
  • เมื่อ 00.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่ง Tarapaca ประเทศชิลี ที่ความลึก 19.20 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 12 กรกฎาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 23:00 ตำแหน่งล่าสุดของดาวหาง ISON พระเอกแห่งปี อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ที่ระยะ 2.951AU  ยังไม่ผ่านวงโคจรดาวอังคาร (ดาวอังคาร 1.523 AU)  test255
  • 22:00 ตำแหน่งล่าสุดของพายุไต้ฝุ่นซูลิกจากรายงานของอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA อยู่ที่พิกัด N24°20′ E123°05′ 1307-00-20130712-2200
  • 21:00 รายงานสภาพลมและฝนในไต้หวันจากไต้ฝุ่นซูลิก [wpvp_embed type=youtube video_code=X8m9pI3q4jk width=560 height=315]
  • 18:00 คนญี่ปุ่นตายเพราะคลื่นความร้อน 12 ราย
  • 16:15 อุตุไต้หวัน หรีอ CWB แสดงปริมาณน้ำฝนจากเรดาร์ในเวลานี้ ผลจากไต้ฝุ่นซูลิก 2013-07-12_1715.MOS0
  • 12:50 ตำแหน่งล่าสุดของพายุไต้ฝุ่นซูลิกจากรายงานของอุตุฯญี่ปุ่นหรือ JMA อยู่ที่พิกัด  N23°05′ E125°05′ พายุจะขึ้นฝั่ง 04:00 วันรุ่งขึ้น แต่จะเริ่มส่งผลต่อไต้หวันตั้งแต่บ่ายโมงวันนี้
  • 12:14 ภาพดาวเทียมล่าสุด กลุ่มเมฆชายขอบไต้ฝุ่นซูลิกไปถึงปหระเทศไต้หวันแล้ว20130712.0514.mtsat2.x.vis1km_high.07WSOULIK.95kts-952mb-227N-1259E.100pc
  • 10:00 ทางการไต้หวัน ประกาศให้ประชาชนเลิกเรียน-เลิกงานก่อนเวลาในวันนี้ (เวลาไต้หวันเร็วกว่าไทย 1 ชั่วโมง)
    • นคร จีหลง (基隆市) Keelung City เลิกเรียน-เลิกงาน 14:00
    • เขตปกครองพิเศษ ซินเป่ย (นิวไทเป) New Taipei (新北市) เลิกเรียน-เลิกงาน 14:00
    • เขตปกครองพิเศษ ไทเป (ไถเป่ย) Taipei เลิกเรียน-เลิกงาน (臺北市) 14:00
    • เทศมณฑล เถาหยวน Taoyuan (桃園縣) เลิกเรียน-เลิกงาน 12:00
    • นคร ซินจู๋ (新竹市) Hsinchu เลิกเรียน-เลิกงาน 18:00
    • เทศมณฑล เหมียวลี่ (苗栗縣) Miaoli เลิกเรียน-เลิกงาน 18:00
    • เทศมณฑล อี๋หลาน (宜蘭縣) เลิกเรียน-เลิกงาน15:00
    • เทศมณฑล ฮวาเหลียน (花蓮縣) เลิกเรียน-เลิกงาน 12:00
  • 09:00 TSR ประเมิณความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุของซูลิก จะกำลังลดลงจาก CAT2 ไปที่ CAT1 คือเหลือ 80 น็อต (148 กม/ชม) แล้วจึงไปเพิ่มขึ้นอีกก่อนเข้าประชิดเกาะไต้หวัน ล่าสุด JMA รายงานข้อมูลเมื่อ 08:00 ว่าพายุซูลิกลดความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางลงเหลือ 80 น็อตแล้ว
  • 08:00 พายุ Chantal สลายตัวแล้ว
  • 05:00 ไต้ฝุ่นซูลิก พายุหมายเลข 7 ยังคงความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุที่ 95 น็อต เส้นทางพายุที่ TSR ประเมิณล่าสุด หดสั้นลง  201307W-20130712-0500
  • 04:32 ภาพดาวเทียมแรกที่แสงแดดส่องพายุซูนิกเช้านี้ สะดือจุ่นอีกแล้ว 
  • 03:00 ฝนหนักจากไต้ฝุ่นซูลิก ส่งผลต่อเกาะอิชิงากิของญี่ปุ่นแล้ว
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • 14:07 แผ่นดินไหว ประเทศพม่า (20.20,98.94) ขนาด 3.0 ไม่ทราบความลึก
  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 22.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ Potosi ประเทศโบลีเวีย ที่ความลึก 96.30 กม.
  • เมื่อ 20.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Seattle-Tacoma urban area Washington ที่ความลึก 31.10 กม.
  • เมื่อ 20.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 1.90 กม.
  • เมื่อ 19.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 205.90 กม.
  • เมื่อ 19.25 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 50.70 กม.
  • เมื่อ 19.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 10.10 กม.
  • เมื่อ 18.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.00 กม.
  • เมื่อ 18.40 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ รัฐฮาวาย ที่ความลึก 11.40 กม.
  • เมื่อ 18.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 148.20 กม.
  • เมื่อ 17.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางเหนือของ ประเทศเปรู ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 15.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ หมู่เกาะซานตาครูส ที่ความลึก 235.70 กม.
  • เมื่อ 14.59 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 14.90 กม.
  • เมื่อ 14.39 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 22.30 กม.
  • เมื่อ 14.24 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ Bismarck Sea ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 09.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ หมู่เกาะเคอมาเดค ที่ความลึก 157.10 กม.
  • เมื่อ 09.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 7.00 กม.
  • เมื่อ 09.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 43.40 กม.
  • เมื่อ 09.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย ประเทศเม็กซิโก ที่ความลึก 19.60 กม.
  • เมื่อ 05.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ กลุ่มเกาะฟ็อกซ์ หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 25.70 กม.
  • เมื่อ 00.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ นอกชายฝั่งของ เอล ซาวาดอ ที่ความลึก 43.00 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 20 พฦษภาคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:45 ฝนตกปรอยๆ เขตบางบอน บางขุนเทียน
  • 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5  บริเวณ นอกชายฝั่งตะวันตก ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม. ทาง PTWC ไม่เตือนสึนามิ ตามเอกสารนี้  (Geofon วัดได้ Mw6.2) เป็นการเคลื่อนตัวแบบ Transform Mo=2.6 x 1018gfz2013jusj
  • ตำแหน่งล่าสุดเวลานี้ของดาวหาง ISON ยังไม่เลยวงโคจรดาวอังคารเข้ามา 
  • ขนาดของน้ำแข็งขั้วโลกล่าสุด น่าแปลกที่ขั้วโลกเหนือหดเล็กลงตามที่รู้กันดีจากที่ออกข่าวเรื่องภาวะโลกร้อนแต่..น้ำแข็งขั้วโลกใต้กลับขยายใหญ่ขึ้น คำถามคือ ทำไม?
  • สภาพความเสียหายบางส่วนในเมืองคาร์เนย์ รัฐโอกลลาโอมา หนึ่งในหลายจุดที่โดนทอร์นาโดถล่มวานนี้ ภาพโดย Jessica Schambach 
  • ภาพวิเคราะห์ดาวเทียมจากกรมอุตุ เวลา ตีสี่
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่งเจ็ดโมงเช้าบ่ายโมงหนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • คลื่นแผ่นดินไหวจากสถานี CMMT เชียงใหม่ของกรมอุตุจากเวลา 07:00 เมื่อวานนี้ถึง 07:00 เช้านี้

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

  • เมื่อ 21.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ Minahasa เกาะสุลาเวสี, ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 209.60 กม.
  • เมื่อ 21.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.3 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 83.60 กม.
  • เมื่อ 21.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 45.00 กม.
  • เมื่อ 20.57 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 52.80 กม.
  • เมื่อ 19.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 30.50 กม.
  • เมื่อ 17.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.80 กม.
  • เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.80 กม.
  • เมื่อ 16.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 6.5 บริเวณ นอกชายฝั่งของ Aisen ประเทศชิลี ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 15.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 6.70 กม.
  • เมื่อ 14.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ความลึก 120.90 กม.
  • เมื่อ 14.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ทางใต้ของ ประเทศอิหร่าน ที่ความลึก 24.80 กม.
  • เมื่อ 13.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 40.00 กม.
  • เมื่อ 10.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 49.00 กม.
  • เมื่อ 10.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 15.10 กม.
  • เมื่อ 08.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ โอกลาโฮมา ที่ความลึก 4.50 กม.
  • เมื่อ 08.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 42.60 กม.
  • เมื่อ 07.36 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 28.00 กม.
  • เมื่อ 07.22 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 30.20 กม.
  • เมื่อ 07.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 110.70 กม.
  • เมื่อ 07.13 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 33.20 กม.
  • เมื่อ 07.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 60.10 กม.
  • เมื่อ 07.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 43.00 กม.
  • เมื่อ 06.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 58.80 กม.
  • เมื่อ 06.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 49.70 กม.
  • เมื่อ 06.50 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 70.20 กม.
  • เมื่อ 06.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 78.20 กม.
  • เมื่อ 05.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40.10 กม.
  • เมื่อ 05.28 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 05.10 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.00 กม.
  • เมื่อ 04.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 13.00 กม.
  • เมื่อ 04.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 10.00 กม.
  • เมื่อ 04.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 15.00 กม.
  • เมื่อ 04.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 58.00 กม.
  • เมื่อ 04.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.30 กม.
  • เมื่อ 03.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ ประเทศฟิจิ ที่ความลึก 341.30 กม.
  • เมื่อ 03.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 43.70 กม.
  • เมื่อ 03.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 86.20 กม.
  • เมื่อ 03.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ ทางเหนือของ อลาสกา ที่ความลึก 11.30 กม.
  • เมื่อ 02.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 92.70 กม.
  • เมื่อ 02.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 54.10 กม.
  • เมื่อ 02.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 52.50 กม.
  • เมื่อ 02.37 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 48.60 กม.
  • เมื่อ 02.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 54.30 กม.
  • เมื่อ 02.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 23.00 กม.
  • เมื่อ 01.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 19.10 กม.
  • เมื่อ 01.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 44.10 กม.
  • เมื่อ 01.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 53.80 กม.
  • เมื่อ 01.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 35.00 กม.
  • เมื่อ 00.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 59.70 กม.
  • เมื่อ 00.44 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 40.30 กม.

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 11:00 พบการก่อตัวใหม่ของพายุโซนร้อน 16S ในช่องแคบโมแซมบิค ทิศทางมุ่งหน้าเข้าหามาดากัสการ์ 201316S-190213
  • 09:00 รูปจันทร์เคียงดาวพฤหัส เมื่อคืนนี้เกิดในไทย แต่อันนี้จากซีกโลกตะวันตก ณ เวลานี้ (ฝั่งไทยเป็นช่วงกลางวัน)BDb3iNNCUAECv4P
  • 06:00 หย่อมความกดอากาศต่ำทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์กลายสภาพเป็นพายุดีเปรสชัน 02W ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 25 น็อต201302W-190213
  • 00:10 ดาวหางแพนสตาร์  Pan-STARRS (C/2011 L4) ดาวหางดวงแรกที่เราคาดหวังจะได้เห็นกันทั้งโลกด้วยตาเปล่าในเดือนมีนาคมปีนี้ ขณะนี้เข้าใกล้ดวงอาทิตย์กว่าดาวศุกร์แล้ว เริ่มปรากฏหางฃัดเจน โดยหางมีลักษณะเป็น  fan-shaped หรือรูปพัด อีกทั้งสามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องสองตาในชีกโลกใต้แล้ว โดยภาพนี้ Ignacio Diaz Bobillo ส่งมาจากบัวโนสไอเรส อาเจนตินาร์ (ถ่ายภาพผ่านกล้องดูดาว)panstarrs_strip
  • อินเดีย – พบหวัดหมู 37 รายในนิวเดลฮี

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ (มีปัญหาในการรายงานค่าความลึก )

  • ขณะนี้ยังไม่มีเหตุการณ์

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 25 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 19:00 แผนที่อากาศจากกรมอุตุฯ มีหย่อมความกดอากาศต่ำเข้ามาปกคลุมกรุงเทพ อากาศหนาวจะหายไปในช่วงนี้ และบางแห่งอาจมีฝน 

[stextbox id=”alert”]วันนี้ข่าวลือเรื่องดวงอาทิตย์ปล่อย CME จากเว็บนี้ กดอ่าน ขอเตือนว่า ไม่เป็นความจริงนะครับ ดวงอาทิตย์สงบมากในเวลานี้ จุดดับทั้งหมดหันออกห่างจากโลก ลมสุริยะความเร็วต่ำมาก และ CME ที่ปะทุสุดท้ายก็ไปทางดาวพุธ ไม่เกี่ยวกับโลกเลย บทความนาซาอะไรที่อ้างมาก็หาไม่เจอ [/stextbox]

  • 12:50 สนามแม่เหล็กโลกเงียบสงบ ดวงอาทิตย์มีปฎิกิริยาต่ำมาก 
  • 12:40 ฝนหนักปทุม ดอนเมือง หลักสี่ สายไหม
  • 07:52 พายุโซนร้อนแกรีทางตะวันออกของเกาะซามัว ทวีกำลังเป็นพายุไซโคลนแล้วในขณะนี้ 
  • 07:50 ดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาต่ำมาก ความเร็วลมสุริยะ 277 km/sec สนามแม่เหล็กโลกอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • 06:30  อีกเดือนเศษ ชาวโลกจะได้ยลโฉมดาวหางดวงแรกของปีด้วยตาเปล่า ราวช่วงต้นมีนาคมหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าในยามเย็น ซึ่งดาวหางเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากพอที่จะโดนอิทธิพลของลมสุริยะจนระเหิดน้ำแข็งออกเป็นหางยาวสวยงาม แต่ขณะนี้ ดาวหางนี้ยังอยู่ที่ใกล้วงโคจรของดาวอังคาร และเริ่มมีหางสั้นๆงอกออกมาแล้ว ยืนยันโดยภาพถ่ายจากทีมนักดาราศาสตร์ในอาเจนตินา ซึ่งได้ถ่ายภาพ ดาวหางแพนสตาร์ Pan STARRS เมื่อคืนนี้ด้วยกล้องสะท้อนแสงขนาด 0.3 เมตร (ซีกโลกใต้จะได้เห็นก่อน)
  • 06:00 ระดับน้ำในเขื่อนทั่วไทยล่าสุดวันนี้ ข้อมูลจากกรมชลประทาน เหลือเขื่อนศรีนครินทร์แห่งเดียวที่มีน้ำมากพอใช้ในหน้าแล้ง เขื่อนอื่นยังน่าห่วง 
  • 04:00 พายุโซนร้อนพีต้า Peta หรือ 201312S ใกล้เมือง Onslow ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย สลายตัวแล้ว
  • 01:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุ

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 21 มกราคม 2556

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:00 พบการก่อตัวของพายุโซนร้อน Oswald ในอ่าว Carpentaria ของประเทศออสเตรเลีย อาจขึ้นฝั่งบนคาบสมุทรเคปยอร์คใน 12 ชม นี้
  • 10:00 พายุโซนร้อน 10P ในแปซิฟิคใต้ ทางเหนือของเกาะซามัว ได้รับชื่อเป็นทางการแล้วว่า แกรี Garry พายุนี้มีแนวโน้มจะกลายเป็นไซโคลน ทิศทางการเคลื่อนที่จะผ่านทางตอนเหนือประเทศซามัวออกทะเลลึก
  • 08:15  ดาวหางแพนสตาร์หรือ C/2011L4 ขณะนี้อยู่ห่างโลก 1.93  AU ยังอยู่นอกวงโคจรของดาวอังคาร   ดาวหางนี้จะปรากฏให้เห็นด้วยตาเปล่าในเดือนมีนาคมนี้
  • 08:10 ดาวหางไอซอน หรือ C/2012S1 ขณะนี้อยู่ห่างโลก 4.09 AU เลยวงโคจรของดาวพฤหัสเข้ามาเล็กน้อย  ดาวหางนี้จะปรากฏให้เห็นด้วยตาเปล่าในเดือนพฤศจิกายนนี้
  • 06:30 กทม 24 จันทบุรี 19°C ชัยภูมิ  17°C ลำพูน 17°C ลำปาง 14°C เชียงใหม่ 16°C แพร่ 14°C น่าน 14°C
  • 06:09 ระดับน้ำที่คงเหลือในเขื่อนต่างๆเวลานี้โดยกรมชลฯ
    image
  • 01:00 แผนที่อากาศของกรมอุตุ
  • ดาวเคราะห์น้อย (2013 BT15) กำลังเข้าใกล้โลกในระยะห่าง 4.6 เท่าของดวงจันทร์ ด้วยขนาดราว 15 เมตร ความเร็ว 6.97 กม/วินาที

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียง (จาก TMD)

  • ไม่มี

แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียง (จาก USGS)

15 ธ.ค. 54

เหตุการณ์วันนี้

  • มีแผ่นดินไหวทางตอนเหนือของเชียงราย ในเขตประเทศพม่า เวลา 23:12 
  • ทุ่นสึนามิหมายเลข 23228 ทางใต้ของอินเดีย รายงานระดับคลื่นที่ผิดปกติ ทั้งที่ไม่มีสึนามิ หรือแผ่นดินไหวใดๆในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำ 
  • 15:00 พายุโซนร้อน 27W ได้รับการตั้งชื่อแล้วว่าพายุโซนร้อน “วาชิ Washi”
  • ดาวหาง  Lovejoy (C/2011 W3) ขนาดนิวเคลียสราว 2 เท่าของสนามฟุตบอล ความสว่าง -4 ถึง -5 กำลังพุ่งตรงเข้าชนดวงอาทิตย์ในไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้านี้ ภาพนี้บันทึกจากยาน SOHO วงกลมดำคือแผ่นบังแสงอาทิตย์ แท่งมืดมุมขวาบน คือแขนของแผ่นบังถ่ายภาพของยาน
  • พายุโซนร้อน 27W ยังคงทวีกำลังขึ้น และมีทิศทางมุ่งไปทางฟิลิปปินส์ 
  • พายุดีเปรสชัน 26W ทางตอนใต้ของเวียดนาม สลายตัวแล้ว
  • NWS สรุปจำนวนพายุทอร์นาโดปีนี้ที่เข้ามิสซิสซิปปีได้ 97 ลูก
  • น้ำยังท่วม 560 ตำบลของ 80 อำเภอ ใน 9 จังหวัดทั่วประเทศ
  • เขื่อนน้ำมากวิกฤต(%รนก.) : ป่าสักฯ(117%),แม่งัด(106%),ลำตะคอง(103%),ลำแซะ(103%),กระเสียว(101%),แม่กวง(100%),มูลบน(99%),ภูมิพล(98%),สิริกิติ์(97%),น้ำอูน(95%),หนองปลาไหล(94%),อุบลรัตน์(93%),จุฬาภรณ์(92%),ลำพระเพลิง(91%),สิรินธร(91%),กิ่วลม(90%),คลองสียัด(90%),ศรีนครินทร์(89%),ลำปาว(88%),น้ำพุง(88%)
  •  มีการประกาศให้จังหวัดแพร่ เป็นจังหวัดประสบภัยหนาวแล้ว พร้อมให้อำเภอทั้ง 8 อำเภอ สำรวจความเดือดร้อนของประชาชน
  • หมู่บ้านเมืองเอก เริ่มกลับสู่ภาวะปกติ เหลือบางจุดยังมีน้ำท่วมขัง ประชาชนทยอยกลับบ้านแล้ว
  • เช้าวันนี้ ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ น้ำขึ้นเต็มที่เวลา 11:42 สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1.67 เมตร
  • ค่ำวันนี้ ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ น้ำขึ้นเต็มที่เวลา 19:45 สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1. เ17มตร