รายงาน​ภัยพิบัติ​ 2​4 มีนาคม​ 2566​

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:00 แผนที่​จุด​ความร้อน​จากดาวเทียม​ Suomi NPP​
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 13:00 Peter Forister ​ถ่ายภาพเสาแห่ง​แสงเหนือ จากอุทยานแห่งชาติ​เชนแนนโดอา (Shenandoah)​ รัฐเวอร์จิเนีย ผลจากพาย​ุแม่เหล็ก​โลก​ระดับ G4 Impact​ credit​ : Peter Forister
  • 11:04 เกิดพายุ​แม่เหล็ก​โลก​ระดับ G4 หรือ K-index = 8 ซึ่งถือว่า​รุนแรง​ที่สุด​ใน​รอบ​ 6 ปีโดยไม่มีสาเหตุ​ที่แน่ชัด มีผู้สังเกตุ​เห็น​แสงออโรราในหลายพื้นที่ทั่วโลก โดยเฉพาะ​บริเวณเส้นละติจูดที่ต่ำกว่าที่พบได้ตามปกติ ยกตัวอย่าง​เช่นภาพที่ Peter Hill ถ่ายได้จากเซาท์​ดาโกตา
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 00:30
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 13 มีนาคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 16:15 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 5​ ชั่วโมง​ 45 นาที หรือ​ตั้งแต่​ 10:30
  • 14:18 เกิดการปะทุและปลดปล่อย​ CME​ จากดวงอาทิตย์​ในทิศทางที่ไม่หันมาทางโลกในความเร็ว​ถึง 3,000 กิโลเมตร​ต่อ​วินาที​ ถือว่าเป็นความเร็วสูงสุดในรอบ 10 ปี
  • 07:00 สถานการณ์​ PM2.5​ ภาคเหนือ​
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 05:45 เรดาร์​ฝน​ TMD ลำ​พูน​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​เหนือ​ ในช่วง 1 ชั่วโมง​ 15​ นาที​ ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 04:45 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 25 นาที​ที่ผ่านมา
  • 02:00  เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 20:00
  • เกิดพายุหมุน​เขตร้อน​ Yaku ซึ่งถือว่าไม่ปกติในจุดเกิด ส่งผลให้เกิด​ฝนหนักน้ำท่วม​ในประเทศ​เปรู
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ (กราฟนี้เน้นใช้ประโยชน์​เรื่อง​ของ​เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว​ โดยแยกสีเป็น​แดงน้ำเงินสีละครึ่งชั่วโมงเพื่อให้ดูง่าย ส่วนเรื่องขนาดแผ่นดินไหว​ กราฟนี้ไม่อาจใช้ระบุ​ตัวเลขที่ชัดเจน)​

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 16 กุมภาพันธ์​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:13 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6 ลึก​ 10​ กม.พิกัด​ 35.14°E 5.37°S แทนซาเนีย​
  • 21:30 เรดาร์​ฝน​ TMD ลำ​พูน​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​เหนือ​ ในช่วง 1 ชั่วโมง​ 15​ นาที​ ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 17:29 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 ลึก​ 10​ กม. ​ พิกัด​ 100.49°W 32.84°N เมืองโรตัน รัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 16:47 แผ่นดินไหว​ขนาด 4.9​  ลึก​ 10​. พิกัด​  14.66°E 45.00°N สาธารณรัฐโครเอเชีย​
  •  16:00 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 10:00
  • 15:54 เกิดพายุฤดูร้อน​และลูกเห็บ​ตกที่ บ้านเวียงหวาย และบ้านหัวฝาง ต.ม่อนปิ่น อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ที่มา เฟสบุ๊ค Nong Chalermchai) และ บุญเทิด คนฝางกรุ๊ป​
  • 07:00 พายุ​ไซโคลน​ Freddy​ ในมหาสมุทรอินเดียโซนซีกโลกใต้ มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุล่าสุด 135 น็อต​ เทียบ​เท่า​ระดับ​ 4 ตา​ม​มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 14.8°S 82.5°E  เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกยังไม่มีแนวโน้มขึ้นฝั่ง
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 03:55 เรดาร์​ตรวจฝน​จากสำนักการระบายน้ำ กทม ที่หนองจอก​ (แบบ​เคลื่อนไหว) แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​กรุงเทพฯ​และ​ปริมณฑล​รวมทั้ง​บาง​จังหวัด​ใน​ภาค​กลาง​ตอน​ล่าง​และ​ภาค​ตะวันออก​ตลอด 45 นาที​ที่ผ่านมา
  • 01:10 แผ่นดินไหว​ขนาด 6.0 (Mw)​ ลึก​ 10​ กม. พิกัด​ 123.94°E 12.32°N ในทะเลใกล้จังหวัดซามาร์เหนือ ประเทศฟิลิปปินส์
  • 01:00 พายุ​โซน​ร้อน​ Dingani​ ในมหาสมุทรอินเดียโซนซีกโลกใต้ มีพิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 28.9°S 68.2°E อ่อนกำลังลงต่อเนื่อง​ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุลดลงเหลือ 40 น็อตแนวโน้มอ่อนกำลังเป็นพายุดีเปรสชั่น
  • มีมวลสารโคโรนา​หรือ CME​ ปล่อยออกจากดวงอาทิตย์​วานนี้ เนื่องจากมีการปะทุของฟิลาเมนท์ที่คร่อมขั้วแม่เหล็ก​ตรงเส้นศูนย์สูตร​ คาดว่า CME​ ดังกล่าว​จะเคลื่อนตัว​ถึงโลก 17-18 ก.พ. 66 และเข้าชนกับสนามแม่เหล็ก​เกิดเป็นพายุแม่เหล็ก​โลกระดับ G1 ถึง G2 ซึ่งถือว่าไม่อันตราย เพียงแค่สร้างแสงออโรราขึ้นมาในประเทศ​แถบละติจูด​สูง
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 1​1 กุมภาพันธ์​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 22:48 เกิดการปะทุระดับ​ X1 จากจุด​มืดหมายเลข​ AR3217 บนดวงอาทิตย์​ในด้า​นที่​หัน​หาโลก ก่อให้เกิดการรบกวนวิทยุคลื่นสั้นบริเวณ​ทวีปอเมริกา​ใต้เนื่องจากเป็นช่วงกลางวันพอดี
  • 19:00 พายุ​ไซโคลน​ Freddy​ ในมหาสมุทร​อินเดีย​โซน​ซีกโลก​ใต้​ ทวี​ความเร็วลม​ใกล้ศูนย์ก​ลางพายุ​ขึ้นไปที่ 105 น็อต​ เทียบ​เท่า​ระดับ​ 3 ตามม​าตราเฮอริเ​คนแซฟเฟอร์​-ซิมป์สัน​ พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 14.8 S 103.0 E เคลื่อนตัว​ไป​ทางตะวันตก​
  • 18:35 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.1 (ML) ลึก​ 31.8 กม.พิกัด​ 23.38°N, 121.66°E ใน​ทะเล​ใกล้​ชายฝั่ง​เทศ​มณฑล​ฮ​วา​เหลียน​ ประเทศ​ไต้หวัน​ ความรุนแรง​ระดับ​ 4 ตา​มมาตรา​ใหม่​ของ​ CWB
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 01:00 พบการ​ก่อ​ตัวใหม่​ของ​พายุ​ดีเปรสชัน​ 13S ในมหาสมุทร​อินเดีย​โซน​ซีกโลก​ใต้​ ทวี​กำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​โซน​ร้อน​ได้ชื่อ​เรียกว่า​ Dingani ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​ 45 น็อต​พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 16.0°S 80.3°E เคลื่อนตัว​ไป​ทางตะวันตก​
  • 01:00 ​พ​ายุโซนร้อน​ Freddy ​เคลื่อนตัว​ออกจากทะเลติมอร์​ออกไป​สู่มหาสมุทร​อินเดีย​ ทวีกำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ไซโคลน อ่อกำลัง​ลง​เป็น​พายุ​โซน​ร้อน​แล้วทวี​กำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ไซโคลน​อีกครั้ง​ ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​ 75 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 978 hPa​ พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 14.6°S 105.4°E เคลื่อนตัว​ไป​ทางตะวันตก​ ไม่​มีแนวโน้ม​ขึ้นฝั่ง​ประเทศ​ใด
  • 01:00 พายุ​โซน​ร้อน​ GABRIELLE​ ในทะเลคอรัล ​ทางตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ของ​ออสเตรเลีย​ ทวีกำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ไซโคลน​ จากนั้นอ่อนกำลัง​ลง​เป็น​พายุ​โซน​ร้อน​อีกครั้ง เคลื่อนตัว​ไปท​างตะวันออก​เฉียง​ใต้​จนออดนอกเขต​ร้อนที่พิกัด​ 26.6°S 164.4°  กลายเป็นพายุหมุน​นอกเขตร้อน “Sub tropical​ storm” ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​พายุ​ลดลงมาที่ 55 น็อต​ ความกด​อากาศ​ 980 hPa​ แนวโน้ม​อ่อนกำลัง​ลง​จน​สลายตัว​
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 10 กุมภาพันธ์​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:30 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 12:30
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 10:03 เกิดการ​ปะทุ​ระดับ​ M3.7 จากจุด​มืดหมายเลข AR3213​ บนดวงอาทิตย์​ เป็น​การปะทุขนาดเล็ก​ ไม่ส่งผลต่อโลก
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:00 ทุ่นสึนามิ​ทั้ง 2 ตัวของไทย ทำงานส่งสัญญาณ​ตามปกติไม่พบการชำรุด​
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 15 มกราคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:31 เกิดการ​ปะทุ​ใน​ความรุนแรง​ระดับ​ M4.9 จากจุด​มืดหมายเลข​ 3190 บนดวงอาทิตย์​ในทิศทางที่ไม่หันตร​งมา​ทางโลก​ การปะทุนี้ไม้ส่งผล​ใดๆใน​เบื้องต้น​
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 10:36 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7 ลึก 10​ กม. พิกัด 39.23°E 38.40°N จังหวัด​เอลาซิก ประเทศ​ตุรเคีย
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 หมอกลงจัดในหลายจังหวัด​ของภาคกลาง​และภาค​ตะวันออก​
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 04:57 เกิดการ​ปะทุ​ใน​ความรุนแรง​ระดับ​ M  จำนวน 2 ครั้งติดๆกันจากจุด​มืดหมายเลข​ 3182 บนดวงอาทิตย์​ในทิศทางที่ไม่หันตร​งมา​ทางโลก​ การปะทุนี้ไม่ส่งผล​ใดๆใน​เบื้องต้น
  • 03:32 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.7  ลึก​ 149   กม.พิกัด​ 106.53°E 6.39°S เกาะ​ชวา​ ประเทศ​อ​ินโดนีเซีย​
  • แผนที่จุดความร้อนในภาคเหนือ​ย้อนหลัง 1 วัน
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 10 มกราคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 18:30 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 12:30
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 07:00 เปรียบเทียบอุณหภูมิต่ำสุดรายวัน ระหว่างวันที่ 6-9 มกราคม​ 2566
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 06:30 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 00:30
  • 01:50 เกิดการ​ปะทุ​ใน​ความรุนแรง​ระดับ​ X​1.9 จาก​จุด​มืดหมายเลข​ 3184 บนดวงอาทิตย์​ในด้านที่หันหาโลก ปล่อยอนุภาคมีประจุทำปฏิกิริยา​ไอออน​ไน​ซ์กับ​ด้า​นบ​นของ​ชั้น​บรรยากาศ​โลก​ ก่อให้เกิดการ “แบล็ค​เอาท์” ของวิทยุคลื่นสั้นช่วง 25 MHz บริเวณมหาสมุทร​แปซิฟิก​ฝั่งอเมริกา​ใต้ ตามแผนที่นี้ คลิ๊ก
  • 01:00 ออสเตรเลีย​ไม่​เตือน​สึนามิ​จาก​แผ่นดินไหว​ใหญ่ในทะเลบันดา ใกล้​หมู่เกาะ​Tanimbar​ (ดอกจัน​สี​แดง​ในภาพ)​
  • 00:47 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 7.6 (Mw) ลึก 108  กม. พิกัด 129.98°E 7.11°S ในทะเลบันดา ใกล้หมู่เกาะ​ Tanimbar ประเทศ​อินโดนีเซีย
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 6 มกราคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 20:45 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​ 14:45
  • 16:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​สูง​สุด​ใน​ภาค​เหนือ​ Cr​: กรมอุตุฯ
  • 15:30 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ภูเก็ต​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวลาใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 11:44 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 4.6   ลึก 10   กม. พิกัด 37.5N 137.3E จังหวัดอิชิกะวะ ประเทศ​ญี่ปุ่น​ ความรุนแรง​ระดับ​ 4​ ตา​มมาตรา​ชิน​โ​ดะ​
  • 10:30 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 08:00 เกิดการปะทุในความรุนแรง​ระดับ​ X1.2 จากจุด​มืดหมายเลข​ AR3182  ที่ขอบด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ในทิศทางที่ไม่หันตรงมาทางโลก ไม่พบการปล่อยมวลสารโคโรนา​ (CME)​ ออกมาจากการปะทุครั้ง​นี้​ แต่รังสีอัลตร้าไวโอเลตและเอ็กซ์​เรย์จากการปะทุครั้งนี้ได้ทำปฏิกิริยา​ไอออนไนซ์กับด้านบนของ​ชั้น​บรรยากาศ​โลก​ก่อให้เกิดการ Black​out ของคลื่นวิทยุสื่อสาร​ความถี่ช่วง 30 MHz ในแถบแปซิฟิก​ใต้
  • 07:00 หย่อมความ​กดอากาศต่ำ​ 96W ความเร็ว​ลม​ใกล้​ศูนย์กลาง​ 15​ น็อต​ ความกด​อากาศ​ 1007 hPa​ ในทะเล​จีน​ใต้​ เคลื่อนตัว​มา​ที่พิกัด​ 5.0°N 109.8°E แนวโน้ม​จะไม่เข้าอ่าวไทย
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 3 มกราคม​ 2566

เหตุการณ์วันนี้

  • 17:42 ภาพถ่ายจากยาน SOHO​ แสดงให้เห็นว่าเกิดการปะทุจากจุด​มืดหมายเลข​ AR3163​ ฝั่งด้านหลังของดวงอาทิตย์​ การปะทุนี้ไม่ส่งผลกับโลกด็จริง แต่จากการหมุนรอบตัวเอง​ของ​ดวงอาทิตย์​ จุดมืดนี้จะหันมาทางโลก​ในไม่กี่วันข้างหน้า​ ซึ่งต้องจับตากันต่อไป​
  • 12:00 ดวงอาทิตย์​มีจำนวน​จุดมืดพุ่งสูงกว่าจำนวนที่พยากรณ์​ไว้ (เส้นสีแดง)​ในวัฏจักร​สุริยะ​ปัจจุบัน​ (วัฏจักร​สุริยะ​ที่ 25) ด้วยอัตราเร็วมาก หากยังเป็นไปแบบนี้ จุด Solar Maximum จะมาถึงเร็วกว่าที่เคยเป็นมาในวัฏจักร​สุริยะ​ก่่อนหน้านี้ ​
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ ทั้งยอดภูและ​พื้น​ราบ Cr :กรมอุตุฯ
  • 06:30 กรุงเทพฯ​ 23​°C เชียงราย​ 13​°C เชียงใหม่​ 15​°C แม่ฮ่องสอน​ 14​°C ลำปาง​ 14​°C น่าน​ 16​°C เลย​ 19°C โคราช​ 19​°C  นครพนม​ 18​°C ร้อยเอ็ด​ 18​°C อุดร​ 19​°C  อุบล​ 19​°C สกลนคร 18​°C พิษณุโลก​ 22​°C เพชรบูรณ์​ 22​°C กาญจนบุรี​ 23​°C ตาก​ 19​°C ชลบุรี​ 22​°C
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)

รายงาน​ภัยพิบัติ​ 8 ธันวาคม​ 2565

เหตุการณ์วันนี้

  • 21:15 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 17:15 เรดาร์​แบบ​รวม​ทั่วประเทศ​ข​องกรมอุตุ​ย้อนหลัง​ 6​ ชั่วโมง​ หรือ​ตั้งแต่​11:15
  • 08:00 เรดาร์​ฝน​ ​TMD​ ​สทิงพระ​ (แบบ​เคลื่อนไหว)​ แสดง​กลุ่ม​ฝน​ที่​ตก​ใน​ภาค​ใต้​ช่วง​ 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที​ที่ผ่านมา (เวล​าใน​ภาพ​เป็นเวลา​ UTC​ ต้องบวก​ 7​ ช​ั่วโมงให้เ​ป็นเวลาไทย)
  • 07:50 แผ่นดินไหว​ขนาด​ 5.7 ลึก 113 กม. พิกัด 107.06°E 6.95°S จังหวัด​ชวาตะวันตก เกาะชวา ประเทศ​อินโดนีเซีย
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในประเทศ​ไทย​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมง (07:00 วานนี้้ถึง 07:00 วันนี้)​ จากกรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่แสดงปริมาณ​ฝนในกรุงเทพฯ​ย้อนหลัง​ 24 ชั่วโมงจาก​ศูนย์​ป้องกัน​น้​ำ​ท่วม​ กทม​
  • 07:00  แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​เหนือ​ วัดเฉพาะ​พื้นราบไม่รวมยอดดอย Cr :กรมอุตุฯ
  • 07:00 แผนที่​แสดง​อุณหภูมิ​ต่ำสุด​ใน​ภาค​ตะวันออก​เฉียง​เหนือ​ตอ​นบน​ Cr :กรมอุตุฯ
  • 01:00 ดีพ​ดีเปรสชัน​ BOB 09 ในอ่าวเบงกอล​ ทวีกำลัง​ขึ้นเป็น​พายุ​ไซโคลน​ ความเร็วลม​ใกล้ศูนย์ก​ลางพายุ​ 40 น็อต​ ได้ชื่อ​เรียกว่า​ MANDOUS พิกัด​ล่าสุด​อยู่ที่​ 9.2°N 84.6°E  แนวโน้ม​เคลื่อนตัว​ไปอ่อนกำลังลงเป็น​ดีเปรสชัน​ใกล้ฝั่ง​ประเทศ​อินเดีย​
  • ภาพแสดง​ตำแหน่ง​และหมายเลข​จุดมืดล่าสุด​บนดวงอาทิตย์ด้านที่หันตรงมายังโลก​ ที่ได้ทวีจำนวนขึ้น​ในเวลานี้ ก่อให้เกิด​โอกาส​ที่จะมีพายุสุริยะ​หรือการพ่นมวลสาร CME  ฯลฯ มากขึ้น
  • แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ ตีหนึ่ง เจ็ดโมงเช้าบ่ายโมง หนึ่งทุ่ม

แผ่นดินไหวในไทยและใกล้เคียงจากกรมอุตุ

  • กราฟแผ่นดินไหว ช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา บันทึกจากสถานี ดอยสุ​เทพ​ จ.เชียงใหม่​ กรมอุตุฯ

สรุปรายการแผ่นดินไหวและอาฟเตอร์ช็อกทั่วโลกจาก Geofon ช่วง 07:00 เมื่อวานนี้ ถึง 07:00 เช้าวันนี้ (เวลาในตารางเป็น UTC ต้องบวก 7 ชั่วโมงให้เป็นเวลาไทย)